Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73495
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มานพ แก้วโมราเจริญ | - |
dc.contributor.author | กฤษพงศ์ วีระฤทธิพันธ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-04T09:55:06Z | - |
dc.date.available | 2022-07-04T09:55:06Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73495 | - |
dc.description.abstract | Researchers are interested in studying technology. Photo aerial photography Survey of unmanned aerial photography The purpose is to bring the model data acquired to the construction plan. And use the benefits. In the next construction project No need to access the survey area. To maintain operating costs. And work time Surveying uses aerial photo data. With the Mavic Pro DJI's multi-mode aerial, the Autopilot has a 12-megapixel camera. The photos are processed using the Pix4D program, which surveys the elevation at a height of 30 meters. 60 meters and 90 meters meters to compare models at each altitude of flight. And to compare the altitude information of the flight. With the traditional survey method. The results of the research study found that A visual survey of UAV unmanned aerial vehicles at different altitudes was as follows: Compare with ground survey work with theodolite. The mean error was 0.56 %, which was in the confidence interval of 99 %, less than the significance level, less than 0.01. The model was used in the construction project at an altitude of 60 meters and 90 meters compared to the ground survey. The mean error was 1.03 % and 1.19, respectively, which was out of the 99 % confidence interval, less than the significance level of 0.01. It is not possible to use the data from the results and the combined form in the construction project. That is, from the flight collecting photos in the construction site that the researchers studied. At a distance of 30 meters, it is a suitable level that can be used for further construction. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การสำรวจรังวัดด้วยวิธีการภาพถ่ายทางอากาศด้วยอากาศยานไร้คนขับสำหรับโครงการก่อสร้างอาคารขนาดกลาง | en_US |
dc.title.alternative | Photogrammetric survey using unmanned aerial vehicle for medium-sized building construction | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ภาพถ่ายทางอากาศ | - |
thailis.controlvocab.thash | การถ่ายภาพทางอากาศ | - |
thailis.controlvocab.thash | อากาศยานไร้นักบิน | - |
thailis.controlvocab.thash | การวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกล | - |
thailis.controlvocab.thash | การก่อสร้าง | - |
thailis.controlvocab.thash | อาคาร | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ผู้วิจัยมีความสนใจศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมภาพถ่ายทางอากาศการสำรวจงานรังวัดด้วยอากาศยานไร้คนขับ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำข้อมูลแบบจำลองที่ได้มาวางแผนการก่อสร้าง และต่อยอดใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ในโครงการก่อสร้างต่อไป โดยไม่จำเป็นต้องเข้าถึงพื้นที่สำรวจรังวัดเพื่อรักษาต้นทุนการดำเนินงาน และระยะเวลาการทำงาน การสำรวจงานรังวัดได้ใช้ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศด้วยอากาศไร้คนขับ UAV ชนิดMultirotor ของ DJI รุ่น Mavic Pro โดยใช้ระบบการบิน Autopilot มีกล้องความละเอียด 12 ล้านพิกเซล ภาพถ่ายที่ได้นำมาเข้าประมวลผลด้วยโปรแกรม Pix4D ซึ่งทำการบินสำรวจงานรังวัดที่ความสูงระดับ 30 เมตร 60 เมตร และ 90 เมตร เพื่อเปรียบเทียบแบบจำลองที่ได้ในแต่ละความสูงของการบินและเพื่อเปรียบเทียบข้อมูลความสูงของการบินกับการสำรวจรังวัดด้วยกล้องสำรวจแบบวิธีเดิม ผลการศึกษาวิจัยได้พบว่า การสำรวจงานรังวัดด้วยภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คนขับ UAV ที่ความสูงระดับที่ต่างกันมีผลดังนี้ เปรียบเทียบกับงานสำรวจภาคพื้นด้วยกล้องสำรวจ มีค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 0.36 ซึ่งอยู่ในช่วงความเชื่อมั่นที่ 99 % มีค่าน้อยกว่าระดับนัยสำคัญน้อยว่า 0.01 สามารถนำข้อมูลจากการประมวลผล และแบบจำลองมาใช้ในโครงการก่อสร้างได้ ระดับความสูง 60 เมตร และ 90 เมตร เปรียบเทียบกับงานสำรวจภาคพื้น มีค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 1.03 และ 1.19 ตามลำดับ ซึ่งไม่อยู่ในช่วงความเชื่อมั่นที่ 99 % มีค่ามากกว่าระดับนัยสำคัญน้อยกว่า 0.01 ไม่สามารถนำข้อมูลจากการประมวลผล และแบบจำลองมาใช้ในโครงการก่อสร้างได้นั่นคือจากการบินเก็บภาพถ่ายในพื้นที่โครงการก่อสร้างที่ผู้วิจัยศึกษา ที่ระยะความสูง 30 เมตรเป็นระดับที่เหมาะสมสามารถใช้ต่อยอดในการก่อสร้างต่อไปได้ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590632038 กฤษพงศ์ วีระฤทธิพันธ์.pdf | 8.57 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.