Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73477
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorอนาวิล ยินดีผลen_US
dc.date.accessioned2022-06-30T10:34:51Z-
dc.date.available2022-06-30T10:34:51Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73477-
dc.description.abstractA study on Analysis of Self-Reliance of Local Government Organization in Chiang Mai Province aims to study the revenue structure of local administrative organizations in Chiang Mai province and to analyze the relationship between the own-source revenue and government subsidies of local administrative organizations in Chiang Mai Province. In this study, the researcher selected the quantitative method to collect the data and aimed to study and analyze the factors which affect the own-source revenue of 210local administrative organizations in Chiang Mai province, including 1 city municipality, 4 town municipalities, 116 subdistrict municipalities, and 89 subdistrict administrative organizations. The factors consist of physical factors, local tax, and the performance abilities of local administrative organizations. The researcher used the Intrinsically Multiple Nonlinear Regression Analysis technique to predict the tendency of the dependent variable and independent variable which have more than 1 variable, by analyzing several independent variables at once. Thus, this technique would control the effect or the relationship between all independent variables, which could affect the greater statistical accuracy. The result of this study found that the revenue structure of local administrative organizations in Chiang Mai province in terms of the own-source revenue on average was at 6.37 million Baht, the maximum value was 448.91 million Baht, and the minimum value was 0.24 million Baht. Comparing to government subsidies, the average was at 28.96 million Baht, the maximum value was 584.52 million Baht, and the minimum value was 2.75 million Baht. The result indicated the average of the own-source revenue was lower than the minimum of government subsidies. Comparing the local administrative organization area of responsibilities every 1 square kilometer to the own-source revenue would receive the budget for community development average 70,824 Baht. Moreover, the result of this study found that the own-source revenue of local administrative organizations in Chiang Mai is inversed with government subsidies. In another word, an increase in government subsidies caused a decrease in local administrative organization own-source revenue per capita. In conclusion, the result of this study indicated that receiving government subsidies caused local administrative organizations to be incapable of self-reliance on finance and depend on the government's gross revenue. Incapable of self-reliance local administrative organizations would lack the freedom and unable to perform for people's needs under the principle of decentralization. Finally, the government should provide alternative measures such as reviewing giving government subsidies to local administrative organizations or allowing local administrative organizations to earn from new sources of revenue, to push local administrative organizations forward to be the important foundation for further national development.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ความสามารถในการพึ่งพาตนเองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAnalysis of self-reliance of Local Government Organization in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น--เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น--เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- รายได้-
thailis.controlvocab.thashองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น-- รายได้-
thailis.controlvocab.thashการจัดการรายได้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์ความสามารถในการพึ่งพาตนเองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้จัดเก็บเองกับเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เป็นการศึกษารวบรวมข้อมูลที่มุ่งศึกษาเพื่อวิเคราะห์แปลความหมายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยด่าง ๆ ที่ส่งผลต่อรายได้จัดเก็บเองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 210 แห่ง ได้แก่ เทศบาลนคร 1 แห่งเทศบาลเมือง 4 แห่ง เทศบาลตำบล 116 แห่ง และองค์การบริการส่วนตำบล 89 แห่ง ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะประกอบด้วย ปัจจัยทางค้านกายภาพขององค์การ ปัจจัยทางด้านรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และปัจจัยด้านขีดความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยผู้วิจัยใช้เทคนิดวิเคราะห์สมการถดถอยพหุแบบไม่เป็นเส้นตรงอย่างแท้จริง เพื่อทำนายแนวโน้มของตัวแปรตาม กับตัวแปรอิสระ ที่มีมากกว่า 1 ตัวแปรขึ้นไป โดยการวิเคราะห์รวมตัวแปรอิสระในหลายตัวในคราวเดียว ซึ่งจะเป็นการควบคุมผลกระทบหรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระทั้งหมด ซึ่งจะส่งผลต่อความแม่นยำในทางสถิติที่มากขึ้น ผลการศึกษาพบว่าโครงสร้างรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ ในส่วนของรายได้จัดเก็บเอง มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 6.37 ล้านบาท มีค่าสูงสุด 448.9 1 ล้านบาท และมีค่าต่ำสุด 0.24 ล้านบาท เมื่อเทียบกับเงินอุดหนุนแล้ว มีค่าเฉลี่ย 28.96 นบาท มีค่าสูงสุด 584.52 ล้านบาท และมีค่าต่ำสุด 2.75 ล้านบาท แสดงให้เห็นว่าค่าเฉลี่ยของรายได้จัดเก็บเองยังน้อยกว่าค่าต่ำสุดของเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และเมื่อเทียบกับขนาดพื้นที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุก ๆ 1 ตารางกิโลเมตร จะมีงบประมาณจากรายได้จัดเก็บเองในการพัฒนาชุมชนเฉลี่ย 70,824 บาท นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่ารายได้จัดเก็บเองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่มีความสัมพันธ์แบบแปรผกผันกับเงินที่รัฐบาลอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ กล่าวคือ หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพิ่มขึ้น จะส่งผลทำให้รายได้จัดเก็บเองต่อหัวประชากรลดลง โดยสรุปผลการศึกษาครั้งนี้เป็นหลักฐานที่ชี้ให้เห็นถึงการได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลจะส่งผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถพึ่งพาตนเองทางการคลังได้ และจะส่งผลต่อรายได้โดยรวมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จะแปรผันตามรายได้ของรัฐบาล ซึ่งจะส่งผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขาดอิสระภาพในการทำงานเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนตามหลักการกระจายอำนาจ และรัฐบาลควรจะหามาตรการต่าง ๆ เช่น ทบทวนการให้เงินอุดหนุนแก่ท้องถิ่น การเปิดโอกาสให้ท้องถิ่นในการหารายได้แหล่งใหม่ ๆ เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่เป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932064 อนาวิล ยินดีผล.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.