Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายชล สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorอรรถจักร์ สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorวราภรณ์ เรืองศรี-
dc.contributor.authorกำพล จำปาพันธ์en_US
dc.date.accessioned2022-06-13T02:32:26Z-
dc.date.available2022-06-13T02:32:26Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73435-
dc.description.abstractThis thesis aims to examine the history of eastern coast port cities, which had relative autonomy to the central power and the neighbor states. This work focuses on multicultural peoples who had been ignored from the previous historical writings, including foreign merchants, pirates, and various ethnic minority groups inhabited these areas such as Chong, Khmer, Chinese, Lao, Mon, Kuy, Kula, Yuan, Vietnamese, Melayu, Cham, etc. by considering these factors related to the context of Maritime trade in Southeast Asia from the 17th to 19th Centuries. The findings indicates that "Eastern coast port cities" and inland cities were sources of good productions and a part of dynamic international commercial activities in Southeast Asia. Foreign merchants, pirates, and ethnic groups played significant roles in economic and social transformation of this region. Moreover, "Hua Muang Ta Wan Ok," or Eastern cities, were considered as the broad foundation for servants and resources in terms of the suitable geographical location as the cities were located in international shipping routes and military route from Siam to Cambodia and Vietnam. Labor migration of various ethnic groups that contributed to good productions could support the international commercial activities and drove the competition among each state's elites who sought benefit from the resources within these areas. Later in the early Rattanakosin period, Bangkok's elites extended their power to the area by taking down the pirates, Chinese secret societies, and reaped benefit from sugar export and production. As a result, the eastern coast port cities were under the central power’s control since the 19th Century. The study of the history of eastern coast port cities between the 17th and 19th centuries contributes to the understanding of economic and social transformation in the region, which was relatively autonomous from various centers of power. Meanwhile, the study enhances academic understanding of the dynamics of international commerce and the war among states in Southeast Asia.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectประวัติศาสตร์en_US
dc.subjectเศรษฐกิจและสังคมen_US
dc.subjectทะเลตะวันออกen_US
dc.titleประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมของ “เมืองท่าชายฝั่งทะเลตะวันออก” พุทธศตวรรษที่ 22-24en_US
dc.title.alternativeA History of economy and society of “eastern coast port cities” during the 17-19th centuriesen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashชาติพันธุ์-
thailis.controlvocab.thashเมืองท่า -- ประวัติศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashเส้นทางการค้า -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัดิศาสตร์เมืองท่าชายฝั่งทะเลตะวันออก ในฐานะที่เป็นบ้านเมืองที่มีอิสระโดยสัมพัทธ์ (Relative autonomy) กับส่วนกลางและรัฐข้างเคียงโดยรอบเน้นบทบาทของกลุ่มคนหลากหลายที่ถูกละเลยในงานเขียนประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา อาทิ พ่อค้าต่างชาติ, โจรสลัด, กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ที่อยู่ในพื้นที่ อาทิ ซอง, เขมร, จีน, ลาว, มอญ, กุย, กุลา, ยวน,เวีขดนาม, มลายู, จาม ฯลฯ ทั้งนี้ โดยพิจารณาอย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกับบริบทของการค้าทางทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 22-24 ผลการศึกษาพบว่า "เมืองท่าชายทะเลตะวันออก"และหัวเมืองที่อยู่ลึกเข้าไปตอนในซึ่งเป็นแหล่งผลิตสินค้า เป็นส่วนหนึ่งของโลกการค้านานาชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ่อค้ำต่างชาติ โจรสลัด และไพร่สามัญชนชาติพันธุ์ต่างๆ มีบทบาทต่อความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจก่อนข้างมาก นอกจากนี้ "หัวเมืองตะวันออก" ขังเป็นฐานกำลังคนและทรัพยากรที่สำคัญ เนื่องจากความเหมาะสมทางภูมิศาสตร์ การอยู่ในเส้นทางเดินเรือนานาชาติ เส้นทางเดินทัพระหว่างสยาม กัมพูชา และวียดนาม โดยมีการอพยพของคนหลายชาติพันธุ์เข้ามาเป็นแรงานผลิตสินค้าที่สามารถตอบสนองต่อการค้นานาชาติ จึงเป็นแรงผลักดันให้ผู้มีอำนางในรัฐต่างๆ พยายามเข้ามาแสวงหาผลประ โซชน์จากทรัพยากรภายในพื้นที่ ซึ่งในที่สุดแล้วชนชั้นนำกรุงเทพฯ ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์สามารถขยายอำนาจเข้ามาจัดการปัญหาโจรสลัดกับกบฎอั้งยี่ สามารถแสวงหาผลประ โซชน์จากการผลิตและการส่งออกน้ำตาล ทำให้เมืองท่าชายทะเลตะวันออกตกอยู่ในอำนาจของส่วนกลางตั้งแต่ในปลายพุทธศตวรรมที่ 24 เป็นต้นมา การศึกษาประวัติศาสตร์ของเมืองท่าชายทะเลตะวันออกตั้งแต่พุทธศตวรรยที่ 22-24 จึงช่วยให้เข้าใจความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในอาณาบริเวณดังกล่าวนี้ซึ่งมีอิสระโดยสัมพัทธ์ท่ามกลางศูนย์en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580151001 กำพล จำปาพันธ์.pdf580151001.pdf57.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.