Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72205
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฉวี เบาทรวง | - |
dc.contributor.advisor | นันทพร แสนศิริพันธ์ | - |
dc.contributor.author | ใสโสดา ฟองภักดี | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-02-10T04:10:06Z | - |
dc.date.available | 2022-02-10T04:10:06Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72205 | - |
dc.description.abstract | Primigravid women face challenges due to several stressors. Supporting them to cope appropriately with this stress is an important role of the nurse-midwife. The purpose of this descriptive-correlational research study was to explore the relationships of pregnancy-specific stress, social support, and coping among primigravid women. The participants were selected according to the inclusion criteria and consisted of 85 healthy primigravid women, who received antenatal care at the Maternal and Newborn Hospital, Vientiane Province, the Lao People's Democratic Republic from May to July 2020. The research tools consisted of a personal data record form; the Prenatal Distress Questionnaire by Lobel et al. (2008), the Thai version by Rungnapa Posaen et al. (2019); the Social Support Questionnaire developed by Jirawan Niramitpasa (2008); and the Prenatal Coping Questionnaire developed by Sukunya Muengleang et al. (2018). Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s product moment-correlation coefficient. The results of the study were as follows: 1. Participants demonstrated overall prenatal coping at a moderate level (X̅ = 69.65, S.D. = 14.41) 2. Pregnancy-specific stress had a significant positive correlation with prenatal coping among primigravid women (r = .282, p < .01). The findings from this study can be used as baseline data for planning effective nursing care to promote prenatal coping among primigravid women by considering pregnancy-specific stress and social support. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความเครียด | en_US |
dc.subject | การตั้งครรภ์ | en_US |
dc.subject | การสนับสนุนทางสังคม | en_US |
dc.subject | สตรีครรภ์แรก | en_US |
dc.title | ความเครียดเฉพาะกับการตั้งครรภ์ การสนับสนุนทางสังคมและการเผชิญความเครียดในสตรีครรภ์แรก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว | en_US |
dc.title.alternative | Pregnancy-specific Stress, Social Support and Coping Among Primigravid Women, the Lao People’s Democratic Republic | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | สตรีครรภ์แรกจะประสบกับความเครียดหลายประการ การสนับสนุนช่วยเหลือให้สตรีตั้งครรภ์ สามารถเผชิญความเครียดขณะตั้งครรภ์ได้อย่างเหมาะสม จึงเป็นบทบาทสำคัญของพยาบาลผดุงครรภ์ การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ของความเครียด เฉพาะกับการตั้งครรภ์ การสนับสนุนทางสังคม และการเผชิญความเครียดในสตรีครรภ์แรก เลือกกลุ่มตัวอย่าง ตามคุณสมบัติที่กำหนด คือ สตรีครรภ์แรกที่มีสุขภาพดี จำนวน 85 ราย ที่มารับบริการที่แผนกฝากครรภ์ โรงพยาบาลแม่และเด็กแรกเกิด แขวงนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูล ส่วนบุคคล แบบสอบถามความตึงเครียดขณะตั้งครรภ์ของ โลเบล และคณะ (2008) ฉบับภาษาไทย โดย รุ่งนภา โพธิ์แสน และคณะ (2562) แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม สร้างโดย จิราวรรณ นิรมิตภาษ (2551) และแบบสอบถามการเผชิญความเครียดขณะตั้งครรภ์สร้างโดย สุกัญญา ม่วงเลี้ยง และคณะ (2561) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ เพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างมีการเผชิญความเครียดขณะตั้งครรภ์อยู่ในระดับปานกลาง (X̅ = 69.64, S.D. = 14.41) 2. ความเครียดเฉพาะกับการตั้งครรภ์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเผชิญความเครียดขณะตั้งครรภ์ในสตรีครรภ์แรกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .282, p < .01) 3. การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเผชิญความเครียดขณะตั้งครรภ์ในสตรีครรภ์แรกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r = .652, p < .001) ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับวางแผนการพยาบาลที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเผชิญความเครียดขณะตั้งครรภ์ในสตรีครรภ์แรก โดยคำนึงถึงปัจจัยด้านความเครียดเฉพาะกับการตั้งครรภ์ และการสนับสนุนทางสังคม | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611231042 SAISODA FONGPHAKDY.pdf | 2.35 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.