Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภารัตน์ วังศรีคูณ-
dc.contributor.advisorอัจฉรา สุคนธสรรพ์-
dc.contributor.authorพิกุล กันทะพนมen_US
dc.date.accessioned2021-09-10T03:40:50Z-
dc.date.available2021-09-10T03:40:50Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72151-
dc.description.abstractA wound management record is an important tool to facilitate continuous wound management for traumatic persons. This developmental research aimed to develop a Wound Management Record Form for trauma patients in an emergency department and study the completeness of the wound management record before and after using the record form. The National Health and Medical Research Council’s Guide to the Development, Implementation and Evaluation of Clinical Practice Guideline was used as the study framework (NHMRC, 1999). The participants were the Record Form Development Team and 20 emergency department nurses. The research instruments included the developed Wound Management Record Form, the Feasibility of Wound Management Record Form Questionnaire and the Completeness of Wound Management Record Form. The results revealed that: 1. The characteristics of the Wound Management Record Form were a 1-page paper form, including a checklist, abbreviation for recording, full-body anatomical picture for location recording and space for information filling. There were 5 components including wound assessment, wound cleansing, wound closure and dressing, antibiotics and vaccinations, and follow-up. 2. Before implementing the Wound Management Record Form, there was no complete record of any component. After implementing the Wound Management Record Form, there were 98.48 percent complete records on each of the 5 components. The developed Wound Management Record Form is clinically appropriate. Emergency departments can use the Record Form for further quality improvement in wound management among traumatic personsen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาและการใช้แบบบันทึกการจัดการบาดแผลสำหรับผู้บาดเจ็บ ในแผนกฉุกเฉินen_US
dc.title.alternativeDevelopment and implementation of wound management record form for traumatic persons in an emergency departmenten_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc617.1025-
thailis.controlvocab.thashบาดแผลและบาดเจ็บ-
thailis.controlvocab.thashบาดแผลและบาดเจ็บ -- การพยาบาล-
thailis.controlvocab.thashบาดแผลและบาดเจ็บ -- การจัดการ-
thailis.controlvocab.thashแผนกฉุกเฉิน -- การจัดการ-
thailis.manuscript.callnumberว 617.1025 พ314ก 2563-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการบันทึกการจัดการบาดแผลเป็นเครื่องมือสื่อสารสำคัญที่ช่วยส่งเสริมการจัดการบาดแผลอย่างต่อเนื่องสำหรับผู้บาดเจ็บ การวิจัยเชิงพัฒนาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบบันทึกการจัดการบาดแผลสำหรับผู้บาดเจ็บในแผนกฉุกเฉิน และศึกษาความสมบูรณ์ของการบันทึกการจัดการบาดแผลก่อนและหลังการใช้แบบบันทึก โดยใช้กรอบแนวคิดการพัฒนา การใช้และการประเมินผลแนวปฏิบัติทางคลินิกของสภาวิจัยด้านสุขภาพและการแพทย์แห่งชาติ ประเทศออสเตรเลีย (NHMRC, 1999) เป็นแนวทางในการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทีมพัฒนาแบบบันทึก และพยาบาลผู้ปฏิบัติงานในแผนกฉุกเฉิน จำนวน 20 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย แบบบันทึกการจัดการบาดแผลที่พัฒนาขึ้น แบบประเมินความเป็นไปได้ของการใช้แบบบันทึกการจัดการบาดแผล และแบบประเมินความสมบูรณ์การบันทึกการจัดการบาดแผล ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบบันทึกการจัดการบาดแผลสำหรับผู้บาดเจ็บในแผนกฉุกเฉินที่พัฒนาขึ้นมีลักษณะเป็นแบบบันทึกในกระดาษ จำนวน 1 หน้า โดยมีรูปแบบเป็นรายการตรวจสอบ (checklist) ตัวย่อหรือสัญลักษณ์สำหรับการบันทึก ภาพกายวิภาคแบบเต็มตัวเพื่อบันทึกตาแหน่ง และช่องว่างเพื่อให้ผู้บันทึกกรอกรายละเอียดข้อมูล องค์ประกอบในการบันทึกการจัดการบาดแผลทั้งหมด 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การประเมินบาดแผล 2) การทำความสะอาดแผล 3) การซ่อมแซมบาดแผลและการทำแผล 4) การให้ยาปฏิชีวนะและวัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อ และ 5) การติดตามประเมินซ้ำ 2. ก่อนการใช้แบบบันทึกการจัดการบาดแผลสำหรับผู้บาดเจ็บในแผนกฉุกเฉิน ไม่พบความสมบูรณ์ของการบันทึกทั้ง 5 องค์ประกอบ หลังการใช้แบบบันทึกการจัดการบาดแผลสำหรับผู้บาดเจ็บในแผนกฉุกเฉิน พบความสมบูรณ์ของการบันทึกร้อยละ 98.48 ทั้ง 5 องค์ประกอบ แบบบันทึกการจัดการบาดแผลสำหรับผู้บาดเจ็บในแผนกฉุกเฉินที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมในทางคลินิก แผนกฉุกเฉินสามารถนำแบบบันทึกนี้ไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการบาดแผลสาหรับผู้บาดเจ็บต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601231011 พิกุล กันทะพนม.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.