Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72141
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา โชคถาวร | - |
dc.contributor.advisor | ผทัยรัตน์ ภาสน์พิพัฒน์กุล | - |
dc.contributor.advisor | กัญญ์ชล วัฒนากูล | - |
dc.contributor.author | ณัฐพงศ์ มานารัตน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-09-10T03:18:11Z | - |
dc.date.available | 2021-09-10T03:18:11Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72141 | - |
dc.description.abstract | This study aims to examine credit card usage behavior and credit card debt management of three working age groups in Mueang Chiang Mai District, Thailand. Based on demographic concepts, three sample groups are used in this study: Generation Y (24-41 years), Generation X (42-53 years), and Generation B (54-72 years). Analysis focuses on the behavior of each group based on the theory of demand and consumer behavior (6Ws1H), concepts of debt, properties of allocation for consumption, motivation theory using descriptive statistics, inferential statistics, and qualitative data analysis from in-depth interviews. The results of this study found that: 1) Credit card usage behaviors of all three working age groups in Mueang Chiang Mai District were quite similar. However, when considering secondary habits in credit card usage, Generation Y, despite having the lowest income level, tended to be a debt creator compared with Generation X. Also, Generation B tended to be more conservative, only using credit cards when needed as an alternative to cash to purchase consumer products or fuel; 2) Credit card debt management of all three working age groups in Mueang Chiang Mai District was quite different. Although Generation Y and Generation X were both familiar with using technology to gather information on money matters and debt and as a channel for debt settlement, when handling debt, Generation Y tended to settle debt by creating new debt in the form of soft loans, whereas Generation X settled debt immediately. Generation B however, being more conservative, preferred not to have unnecessary debt and consulted more with credit card issuers or payed bills directly through branches when outstanding debt began to rise. In conclusion, the three different generations of customers in Mueang Chiang Mai District were able to change their credit card usage behavior and credit card debt management practices but not in all factors. This study found that factors such as: when to use credit cards; the reason for using credit cards; day-to-day buying decisions; or approach to handling outstanding credit card debt could not be used alone to determine behaviors across the generations because such factors are dependent on average net monthly income per household, and type of product or service purchased. Thus, the researcher recommends further study in greater detail on how average net monthly income per household of different generations can describe credit card usage behavior and credit card debt management. Key words: Credit card usage behavior, credit card debt management, generation, theory of demand and consumer behavior (6Ws1H), Mueang Chiang Mai District | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้บัตรเครดิตที่ค้างชำระและวิธีการจัดการหนี้ค้างชำระของบัตรเครดิตของผู้บริโภควัยทำงาน ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Behavior analysis of overdue credit card users and credit card debt management of working age consumers in Mueang District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 332.765 | - |
thailis.controlvocab.thash | บัตรเครดิต | - |
thailis.controlvocab.thash | หนี้ | - |
thailis.controlvocab.thash | การเงินส่วนบุคคล | - |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 332.765 ณ113ก 2563 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บัตรเครดิตที่ค้างชำระและวิธีการจัดการหนี้ค้างชำระบัตรเครดิตของผู้บริโภค 3 ช่วงอายุวัยทำงาน ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ตามหลักประชากรศาสตร์ ได้แก่ กลุ่มเจเนอเรชั่นวาย อายุระหว่าง 24-41 ปี กลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ อายุระหว่าง 42-53 ปี และกลุ่มเจเนอเรชั่นบี อายุระหว่าง 54-72 ปี โดยการศึกษานี้วิเคราะห์พฤติกรรมแต่ละมิติ บนพื้นฐานของทฤษฎีอุปสงค์และพฤติกรรมของผู้บริโภค (6Ws1H) แนวคิดเรื่องหนี้กับการจัดสรรเพื่อการบริโภค และทฤษฎีแรงจูงใจ โดยประมวลผลและวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างพฤติกรรมในแต่ละด้านด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมาน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษาพบว่า 1) พฤติกรรมการใช้บัตรเครดิตของทั้ง 3 ช่วงวัยทำงาน ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ค่อนข้างเป็นไปในทิศทางเดียวกัน แต่มีพฤติกรรมรองที่แตกต่างกันดังนี้ กลุ่มเจเนอเรชั่นวาย มักนิยมทำตนเป็นผู้ก่อหนี้ ด้วยกระแสรายได้ที่ค่อนข้างตํ่แต่มีพฤติกรรมการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตคล้ายคลึงกันกับกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ ที่มีกระแสรายได้ที่สูงกว่า ในขณะที่กลุ่มเจเนอเรชั่นบีค่อนข้างมีพฤติกรรมที่แตกต่างจากทั้งสองกลุ่มอย่างเห็นได้ชัด กล่าวคือ เจเนอเรชั่นบีมีแนวโน้มอดออม ใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตเมื่อจำเป็น และใช้เพื่อซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคและเติมนํ้ามันเท่านั้น 2) พฤติกรรมเกี่ยวกับวิธีการจัดการหนี้ค้างชำระบัตรเครดิตของผู้บริโภคในแต่ละช่วงวัยทำงานในอำเภอเมืองเชียงใหม่ พบว่าแต่ละช่วงวัยมีวิธีการจัดการหนี้ค้าง ชำระที่ค่อนข้างแตกต่างกัน ดังนี้แม้เจเนอเรชั่นวายและเจเนอเรชั่นเอ็กซ์นิยมใช้เทคโนโลยีทางการเงินเข้ามาเป็นตัวช่วยในการหาข้อมูลและเป็นช่องทาง หลักในการชำระหนี้ แต่วิธีการจัดการหนี้ค้างชำระของเจเนอเรชั่นวายแตกต่างจากเจเนอเรชั่น เอ็กซ์ เนื่องจากส่วนใหญ่นิยมกู้ยืม หนี้ก้อนใหม่มาเพื่อปิดหนี้บัตรเครดิต แต่เจเนอเรชั่นเอ็กซ์พยายาม ปิดหนี้ค้างชำระบัตรเครดิตด้วยตนเอง ในขณะที่เจเนอเรชั่นบี ด้วยพฤติกรรมที่ค่อนข้างมีความ ระมัดระวังในการใช้จ่าย คนกลุ่มนี้นิยมก่อหนี้ในสัดส่วนที่น้อยและจำเป็น และนิยมปรึกษาทาง ธนาคารเจ้าของบัตร หรือชำระผ่านสาขาโดยตรง เมื่อพบว่าหนี้ค้างชำระของตนเองเริ่มสูงขึ้น กล่าวโดยสรุปคือ ช่วงวัยทำงานสามารถจำแนกความแตกต่างของพฤติกรรมการใช้บัตร เครดิตและวิธีการจัดการหนี้ค้างชำระบัตรเครดิตของผู้บริโภคในแต่ละช่วงวัยทำงาน ในอำเภอเมือง เชียงใหม่ ได้เกือบทุกมิติ ยกเว้นบางพฤติกรรม เช่น ช่วงเวลาการใช้บัตรเครดิตในแต่ละเดือน การ ตัดสินใจใช้บัตรเครดิต เหตุผลที่คนต้องใช้บัตรเครดิต หรือ วิธีการจัดการชำระบัตรเครดิตที่ค้างชำระ เป็นต้น ที่รายได้สุทธิเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน หรือประเภทสินค้าและบริการ สามารถจำแนกความ แตกต่างด้านพฤติกรรมได้ดีกว่า ผู้วิจัย แนะนำให้ศึกษาอย่างละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับช่วงอายุ และระดับ รายได้สุทธิต่อครัวเรือนที่แตกต่างกันของในแต่ละช่วงอายุว่ามีผลต่อพฤติกรรมการใช้บัตรเครดิตและ วิธีการจัดการหนี้บัตรเครดิตหรือไม่ อย่างไร | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
591632012 ณัฐพงศ์ มานารัตน์.pdf | 1.69 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.