Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปัทชา ศึกษากิจen_US
dc.contributor.authorวิชญาดา อําพนกิจวิวัฒน์en_US
dc.contributor.authorสรชา สุเมธวานิชย์en_US
dc.contributor.authorเขมชาติ ตนบุญen_US
dc.contributor.authorทศพล ทรรศนกุลพันธ์en_US
dc.date.accessioned2021-04-23T08:50:40Z-
dc.date.available2021-04-23T08:50:40Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationนิติสังคมศาสตร์ 13, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), 54-77en_US
dc.identifier.issn2672-9245en_US
dc.identifier.urihttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/218992/164306en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72114-
dc.descriptionCMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆen_US
dc.description.abstractการศึกษาพิศวาสอาชญากรรมที่กระทำผ่านสื่อใหม่โดยเฉพาะระบบปฏิบัติการในอินเตอร์เน็ต อาทิ เครือข่ายสังคมออนไลน์ เว็บบอร์ดในเว็บไซต์หาคู่ และอีเมล์ ก็เพื่อเข้าใจถึงภัยคุกคามที่มาพร้อมกับโอกาสที่เกิดขึ้นในชุมชนออนไลน์ ความเสี่ยงที่ปรากฏมาจากข้อจำกัดในการดำเนินคดีเพื่อปราบปรามอาชญากรและเยียวยาผู้เสียหาย อันจำเป็นต้องสร้างแนวทางป้องปรามพิศวาสอาชญากรรมในอนาคต โดยผลการศึกวิจัยพบ จุดอ่อนที่เหยื่อเผยข้อมูลส่วนบุคคล รูปแบบกลยุทธ์ที่อาชญากรใช้หลอกลวง ซึ่งเกิดในพื้นที่ไซเบอร์ที่ไร้พรมแดน แต่การดำเนินคดีพิศวาสอาชญากรรมมีอุปสรรคจากขอบเขตอำนาจศาลของรัฐสมัยใหม่ ทำให้หลายกรณีรัฐอาจบ่งชี้ตัวผู้กระทำความผิดได้ แต่มิอาจบังคับใช้กฎหมายข้ามรัฐไปจับกุมผู้กระทำผิดในรัฐอื่น จนกลุ่มผู้เสียหายรวมตัวกันตอบโต้เองและนำไปสู่การใช้ความรุนแรงต่ออาชญากรในลักษณะก่ออาชญากรรมเสียเอง ปรากฏการณ์ดังกล่าวบ่งชี้ให้เห็นว่าพิศวาสอาชญากรรมในโลกไซเบอร์ต้องการมาตรการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมที่ต้องก้าวข้ามข้อจำกัดของรัฐสมัยใหม่ หาไม่แล้วก็จะกระตุ้นให้ผู้เสียหายลุกขึ้นมาตอบโต้โดยผิดกฎหมาย The study of Romance Scam in New Media and Internet Operative Systems; Social Networks, web boards, dating websites and e-mail, is for understanding the threats and opportunities which came from the emerging of Online-Community. The risks come from the limitation to prosecute criminals and remedy the victim so the construction of guideline to prevent further romance scams is needed. The research has shown the inferior that victim usually show their sensitive personal data on cyberspace, the tactic that criminal employ to seduce target on Cyberspace. However, the limitations to prosecute criminals and remedy the victim come from the obstacles relating to the jurisdiction of the Modern State. In many cases State official can identify the convicts but unable to enforce the law across territory. Thus, the reprisal group which gathering victims and active citizen to retaliate the criminal has occurred in a form of violent method. This phenomena reflects that Romance Scam revolts and demands a new measure which could step over many obstacles from the legal principle of Modern State. Otherwise, the cyberspace would be a battle field between the criminals and the violent netizen movements which could generate threats to the security of online community.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอินเตอร์เน็ตen_US
dc.subjectพิศวาสอาชญากรรมen_US
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาen_US
dc.subjectInterneten_US
dc.subjectRomance Scamen_US
dc.subjectCriminal Procedureen_US
dc.titleสื่อใหม่ ภัยเดิม เพิ่มเสี่ยง: พิศวาสอาชญากรรมกับการบริหารอาชญากรรมหลอกลวงของรัฐสมัยใหม่en_US
dc.title.alternativeNew Media, Old Threat but Higher Risk: Romance Scam and the Seduction Crime Management of Modern Stateen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.