Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณรงค์ศักดิ์ เนียมสอนen_US
dc.date.accessioned2021-04-23T08:50:40Z-
dc.date.available2021-04-23T08:50:40Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationนิติสังคมศาสตร์ 13, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2563), 64-86en_US
dc.identifier.issn2672-9245en_US
dc.identifier.urihttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/242934/165858en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72112-
dc.descriptionCMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆen_US
dc.description.abstractบทความนี้ศึกษาบทบาทของสถาบันการเมืองแบบประชาธิปไตยในระบอบเผด็จการ หรือ สถาบันการเมืองอำนาจนิยมอย่างสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ระหว่าง พ.ศ. 2557 – 2562 ว่ามีส่วนช่วยให้ระบอบเผด็จการคณะรักษาความสงบแห่งชาติอยู่รอดได้อย่างไร จากผลการศึกษาพบว่าสภานิติบัญญัติแห่งชาติช่วยทำให้ระบอบคณะรักษาความสงบแห่งชาติอยู่รอดด้วยเหตุผลสามประการ ประการที่ 1 คณะรักษาความสงบแห่งชาติเลือกให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นสถาบันการเมืองแบบกระชับอำนาจเพื่อให้รัฐบาล คสช. มีเสถียรภาพ ประการที่ 2 บทบาทสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นพื้นที่ประนีประนอมและลดความขัดแย้งภายในชนชั้นนำที่ประกอบอยู่ในสถาบันทางการเมืองต่างๆ เป็นพื้นที่จัดสรรอำนาจให้กับเครือข่ายที่สนับสนุนและคัดกรองบุคคลที่อาจจะเข้ามาสร้างความปั่นป่วนภายในระบอบ และประการที่ 3 เมื่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติต้องเผชิญความท้าทายที่อาจต้องสูญเสียอำนาจในอนาคตสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่ในการออกกฎหมายต่างๆ ถอดถอนนักการเมืองฝ่ายตรงข้ามเพื่อให้ระบอบคณะรักษาความสงบแห่งชาติยังคงดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงหลังการเลือกตั้ง This article studies about the role of the National Legislative Assembly between B.E 2557 (2014) and B.E 2562 (2019) how it had helped the National Council for Peace and Order to maintain the regime. The investigation found that there are 3 reasons why the National Legislative Assembly had helped the National Council for Peace and Order to secure the power as follows. First, the National Council for Peace and Order selected the National Legislative Assembly to be the institution which had been used as a tool for tightening its grip. Secondly, the National Legislative Assembly is the space for compromising and reducing conflict among the elite. It is the space for allocating power to the supporting network and screening people who might aim to cause disturbance within the regime. Lastly, when the military government had to encounter challenges causing them to lose power in the future, the National Legislative Assembly performed its duty to enact new law in order to maintain and stabilize the National Council for Peace and Order firmly after the election.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectรัฐสภาen_US
dc.subjectสภานิติบัญญัติแห่งชาติen_US
dc.subjectสถาบันอำนาจนิยมen_US
dc.subjectคณะรักษาความสงบแห่งชาติen_US
dc.subjectระบอบเผด็จการen_US
dc.subjectThe Parliamenten_US
dc.subjectThe National Legislative Assemblyen_US
dc.subjectAuthoritarian Institutionen_US
dc.subjectThe National Council for Peace and Orderen_US
dc.subjectThe Dictatorshipen_US
dc.titleระบอบเผด็จการอยู่รอดได้อย่างไร: บทบาทของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2557 – 2562en_US
dc.title.alternativeHow the Dictatorship Survives: the Role of the National Legislative Assembly Between B.E 2557 (2014) And B.E 2562 (2019)en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.