Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72054
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อามีน อาลีมัลบารี | en_US |
dc.contributor.author | มูฮำหมัดสุกรี ดือราเฮง | en_US |
dc.contributor.author | มักตาร์ แวหะยี | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-04-23T08:50:38Z | - |
dc.date.available | 2021-04-23T08:50:38Z | - |
dc.date.issued | 2563 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2563), 93-101 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | https://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_3/08.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72054 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | en_US |
dc.description.abstract | กระบวนการอบผลปาล์มในโรงงานอุตสาหกรรมสกัด น้ำมันปาล์มแบบหีบรวมต้องใช้ระยะเวลานาน ซึ่งเป็น กระบวนการที่ต้องใช้พลังงานมากสุดเมื่อเทียบกับกระบวนการอื่นๆ งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาแนวทางการลดระยะเวลาการ อบผลปาล์ม โดยวธิีการบีบผลปาล์ม ให้แตกก่อนอบ เนื่องจากความร้อนสามารถถ่ายเทเข้าสู่ผลปาล์ม ได้เร็วกว่า กรณีผลปาล์ม ปกติ ทา ให้ความช้ืนออกจากผลปาล์ม ได้ง่าย ในการทดลองได้เปรียบเทียบผลปาล์ม 2 รูปแบบคือ (1) ผลปาล์มปกติ และ (2) ผลปาล์ม ที่บีบให้แตกโดยตวัอย่างปาล์ม ในการอบครั้งละ 50 กิโลกรัม และควบคุมสภาพการอบให้ใกล้เคียงกับการอบ ในอุตสาหกรรม เช่น ทิศทางและความเร็วลมที่ไหลผ่านชั้น ปาล์ม อุณหภูมิลมร้อน ความสูงในการซ้อนกันของชั้น ปาล์ม เป็นต้น ในระหว่างการอบได้ชั่งน้ำ หนักตัวอย่างปาล์มในแต่ละช่วงเพื่อหาอัตราการลดความชื้น จากนั้นนำผลปาล์มที่อบ เข้าเครื่องสกัดแบบหีบทั้งผลปาล์ม จากการทดลองพบว่า ผลของการบีบผลปาล์ม ให้แตกสามารลดระยะเวลาการอบประมาณ ครึ่งหนึ่งเทียบกับกรณีของปาล์ม ปรกติและเปอร์เซ็นปริมาณน้ำมันปาล์ม ดิบที่หีบได้มีค่ามากกว่า กรณีของผลปาล์มปรกติถึง 21% อย่างไรก็ตาม การบีบผลปาล์ม ให้แตกทำ ให้กรดไขมันอิสระในน้ำมันปาล์มดิบเพิ่มขึ้น โดยมีค่าสูงกว่าเล็กน้อยเทียบ กับค่าที่ยอมรับได้ของเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาคุณภาพน้ำมันปาล์มดิบแบบหีบรวม จากการทดลองนี้มีความเป็นไปได้ที่จะสามารถประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมปาล์ม น้ำมันเพื่อลดระยะเวลาและพลังงานที่ใช้ในการอบ The period of drying process in oil palm mill based on kernel-mixed extraction is very long. Energy usage in this process is the largest when compare to other processes. In this research, a feasibility of oil palm breaking by pressing before drying for minimizing drying period was studied. This is due to heat transfer rate of broken oil palm being larger than that of conventional oil palm, resulting on accelerating moisture removal in the drying oil palm. In the experiment, two types of oil palms: (1) conventional oil palms and (2) broken oil palms by pressing, were compared. 50-kg oil palm samples were dried by controlling drying conditions approaching industrial drying as: direction and velocity of hot air flowing through palm layer, hot air temperature, and a height of palm layer in drying chamber. During drying, the samples was periodically weighed for evaluating drying rate. Then, the dried palms were extracted by screw press with whole palm fruit. The results showed that the effect of breaking palm can decrease drying period approximately half-time respecting the case of conventional palm, and crude palm oil yield was 21% larger than the case of conventional one. However, breaking palm affected to increase Free Fatty Acid (FFA) which was slightly higher than acceptable range for benchmarking a quality of kernel-mixed crude palm oil. This experiment showed that it is possible to apply this method in oil palm milling industry on based kernel-mixed extraction for minimizing drying period and energy consumptions. | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ปาล์มน้ำมัน | en_US |
dc.subject | น้ำมันปาล์มดิบ | en_US |
dc.subject | การสกัดน้ำมันปาล์ม | en_US |
dc.subject | การอบปาล์ม | en_US |
dc.subject | Oil palm | en_US |
dc.subject | Crude palm oil | en_US |
dc.subject | Oil palm milling | en_US |
dc.subject | Palm drying | en_US |
dc.title | การสกัดน้ำมันปาล์มแบบบีบผลปาล์มให้แตกก่อนอบเพื่อเร่งอัตราการลดความชื้น : สภาพใกล้เคียงอุตสาหกรรม | en_US |
dc.title.alternative | Palm Oil Extraction with Pressing to Break before Drying for Accelerating Drying Rate : Industrial Approach | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.