Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72025
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | โอฬาร อ่องฬะ | en_US |
dc.contributor.author | วัชรพล พุทธรักษา | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-04-23T08:50:34Z | - |
dc.date.available | 2021-04-23T08:50:34Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | นิติสังคมศาสตร์ 12, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 64-84 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9245 | en_US |
dc.identifier.uri | https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/191312/159317 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/72025 | - |
dc.description | CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ | en_US |
dc.description.abstract | The land and natural resource management policies that have been implemented in Thailand have only served to strengthen the authority and control of the ruling classes.In order for these policies to allow for a more just rule of law, they would need to be acceptable to other social institutions. Following the 2014 military coup led by the National Council for Peace and Order, the forest and land policies have reflected a shift in power regarding at least two issues: (1) adjustment of control mechanisms and a new military-centric authority under the control of the Thailand National Security Council; and (2) a projection that State is the key protector and efficient provider of justice for their children’s natural resources. นโยบายการจัดการทรัพยากรป่าไม้และที่ดินในสังคมไทยที่ผ่านมาประกอบสร้างขึ้นอย่างมีหลักคิดรวมถึงมีเหตุผลที่เชื่อมโยงกับการกำกับจากชนชั้นผู้ปกครองมาอย่างยาวนาน การที่ผู้ปกครองจะทำการควบคุมบังคับโดยอาศัยการใช้กำลังและกฎหมายเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอต่อการดำรงรักษาอำนาจให้ยาวนาน ดังนั้นผู้ปกครองจำเป็นต้องผลิตสร้างความรับรู้ของผู้คนในสังคมให้เกิดความยินยอมพร้อมใจผ่านกลไกสถาบันทางสังคมต่าง ๆ ภายหลังการทำรัฐประหารใน พ.ศ.2557 ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงเชิงอำนาจของจัดการทรัพยากรป่าไม้และที่ดินอย่างน้อย 2 ประการ คือ 1) การรวมศูนย์อำนาจใหม่ผ่านการปรับกลไกในการควบคุมทรัพยากรไปสู่อำนาจของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) และ 2) การสร้างภาพของความเป็น “ผู้ปกป้องทรัพยากร” เพื่อสร้างชอบธรรมโดยการแสดงตัวเองให้เป็นผู้ที่เป็นส่วนสำคัญในการปกป้องและดูแลทรัพยากรธรรมชาติไว้ให้ลูกหลานและเพื่ออนาคตของคนในประเทศ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | รัฐองค์รวม | en_US |
dc.subject | ทรัพยากรป่าไม้และที่ดิน | en_US |
dc.subject | นโยบาย | en_US |
dc.subject | การเคลื่อนไหวต่อสู้ | en_US |
dc.subject | Integral State | en_US |
dc.subject | Land and forest resource | en_US |
dc.subject | Policy | en_US |
dc.subject | Movement | en_US |
dc.title | รัฐองค์รวม (Integral State) กับการศึกษาเชิงวิพากษ์ของการจัดการทรัพยากร ป่าไม้และที่ดิน หลังพฤษภาคม 2557 | en_US |
dc.title.alternative | Integral State: Critical Study on Land and Forest Management in the Post-May 2014 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.