Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71970
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรัตติยาพร เบ็ญเจ๊ะมะen_US
dc.contributor.authorรัชนีกร อุปเสนen_US
dc.date.accessioned2021-02-05T02:29:36Z-
dc.date.available2021-02-05T02:29:36Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 47,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2563) 66-75en_US
dc.identifier.issn0125-5118en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/247920/168412en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71970-
dc.descriptionวารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาลen_US
dc.description.abstractโรคจิตเภทเป็นปัญหาทางจิตเวชสำคัญ ที่ส่งผลกระทบที่รุนแรงและเรื้อรัง อย่างไรก็ตามการรักษาโรคจิตเภทก็มีความก้าวหน้าขึ้นอย่างมาก ผู้ป่วยโรคจิตเภทสามารถรักษาให้อาการทางจิตสงบได้มากขึ้นการวิจัยเชิงพรรณนาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนาย ได้แก่ เพศ ช่วงเวลาของอาการโรคจิตที่ไม่ได้รับการรักษา ระยะเวลาของการเจ็บป่วย การหยั่งรู้สภาพของตนเอง ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา การแสดงออกทางอารมณ์สูงในครอบครัว และการทำหน้าที่ด้านการรู้คิด ที่สามารถทำนายอาการสงบของผู้ป่วยจิตเภท กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคคลที่ป่วยด้วยโรคจิตเภทที่มารับบริการในโรงพยาบาลศรีธัญญา จำนวน 220 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินอาการสงบของผู้ป่วยจิตเภท แบบประเมินการหยั่งรู้สภาพของตนเอง แบบประเมินความร่วมมือในการรักษาด้วยยา แบบวัดระดับการแสดงออกทางอารมณ์ในครอบครัว และแบบทดสอบสมรรถภาพสมองไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก ผลการวิจัย ตัวแปรที่สามารถทำนายอาการสงบของผู้ป่วยจิตเภทได้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีจํานวน 3 ตัวแปร ได้แก่ การทำหน้าที่ด้านการรู้คิด ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา และ การหยั่งรู้สภาพของตนเอง โดยสามารถเขียนสมการถดถอยโลจิสติกได้ ดังนี้ Predicted logit (อาการสงบของผู้ป่วยจิตเภท) = -13.066 + 0.130*(การหยั่งรู้สภาพของตนเอง) + 0.071*(ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา) + 0.325*(การทำหน้าที่ด้านการรู้คิด) สามารถร่วมกันทำนายตัวแปรตามได้ ร้อยละ 46.8 ดังนั้นการหยั่งรู้สภาพของตนเอง ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา และการทำหน้าที่ด้านการรู้คิด เป็นปัจจัยที่พยาบาลควรส่งเสริมเพื่อสนับสนุนให้ผู้ป่วยจิตเภทอาการสงบ Schizophrenia is one of the major issue on psychiatric problems. The effect of schizophrenia is usually severe and chronic, however the current treatment has been advanced so that many symptoms can be managed easier. The purpose of this descriptive research was to determine predictors of remission in persons with schizophrenia. The factors predicting variables were gender, duration of untreated psychosis, duration of illness, cognitive insight, medication adherence, highly-expressed emotion in family, and cognitive function. Subjects were persons with schizophrenia treated as in-patients and out-patients in Srithanya Hospital chosen purposively. A total of 220 patients were equally divided into two groups: remission and non-remission. The research instruments were demographic interview, The Beck Cognitive Insight Scale, medication adherence behavior questionnaire, The Level of Expressed Emotion, and Thai Mini-Mental State Examination. Data were analyzed by logistic regression. The result was that factors predicting of remission in schizophrenic patients include three variables could significantly at the .05 levels were namely, cognitive function, medication adherence and cognitive insight. The logistic response formula were: Predited logit (remission in persons with schizophrenia) = -13.066 + 0.130*(insight) +0.071*(medication Adherences) + 0.325*(cognitive function). These predictors were accounted for 46.8 percent. Thus, medication adherence and cognitive function are factors that persons with schizophrenia should have and be promoted by the nurse in order to make progress in their remission of symptom.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอาการสงบen_US
dc.subjectผู้ป่วยจิตเภทen_US
dc.subjectปัจจัยทำนายen_US
dc.subjectremissionen_US
dc.subjectschizophreniaen_US
dc.subjectpredicting factoren_US
dc.titleปัจจัยทำนายอาการสงบของผู้ป่วยจิตเภทโรงพยาบาลศรีธัญญาen_US
dc.title.alternativePredicting factor of remission in persons with schizophrenia,Srithaya Hospitalen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.