Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71192
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธัชณรงค์ ธัญญศรี | en_US |
dc.contributor.author | ภูมิฐาน รังคกูลนุวัฒน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-01-27T03:33:05Z | - |
dc.date.available | 2021-01-27T03:33:05Z | - |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 18,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2557), 121-136 | en_US |
dc.identifier.issn | 0859-8479 | en_US |
dc.identifier.uri | https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/60993/50240 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71192 | - |
dc.description | วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยชิ้นนี้ต้องการศึกษาความต้องการถือเงินของประเทศไทย ภายใต้แนวคิดของสำนักเงินนิยม โดยจะศึกษาทั้งความ สัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาวและการปรับตัวระยะสั้นเพื่อให้ เข้าสู่ดุลยภาพระยะยาวตามแนวคิดของ Johansen (1995) ผลศึกษาพบความสัมพันธ์ เชิงดุลยภาพระยะยาว 1 รูปแบบ และพบว่าตัวแปรที่มีผลต่อปริมาณความต้องการ ถือเงินในระยะยาว คือ ดัชนีอุปโภคบริโภคภาคเอกชน อัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร ดัชนีราคาผู้บริโภค และอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ นอกจากนี้ พบว่า อัตราดัชนีอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้ารายย่อยชั้นดี และอัตรา ดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร จะปรับตัวในระยะสั้น This research aims to study the demand for money in Thailand under the monetarist theory. The long-run relationship and short-run adjustment are studied through the Johansen (1995) approach. The results show that there exist 1 cointegration relationship and the demand for money is affected by the Private Consumption Index, Bond Repurchase Rate, Consumer Price Index, and Exchange Rate (Baht per US dollar). Furthermore, we found the Private Consumption Index, Minimum Retail Rate, and Bond Repurchase Rate adjust in the sho rt-run. | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความต้องการถือเงิน | en_US |
dc.subject | สำนักการเงินนิยม | en_US |
dc.subject | ความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว | en_US |
dc.subject | Demand for Money | en_US |
dc.subject | Monetarist | en_US |
dc.subject | Cointegration | en_US |
dc.title | ความต้องการถือเงินของประเทศไทย ตามกรอบแนวคิดของสำนักการเงินนิยม | en_US |
dc.title.alternative | The Demand of Money in Thailand under the Monetarist Theory | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.