Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71183
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกัญญ์สุดา นิ่มอนุสสรณ์กุลen_US
dc.contributor.authorชัยวัฒน์ นิ่มอนุสสรณ์กุลen_US
dc.contributor.authorอนัสปรีย์ ไชยวรรณen_US
dc.contributor.authorกาญจนา โชคถาวรen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:05Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:05Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 17, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2556), 90-115en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/61050/50300en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71183-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractการศึกษานี้ทำการวิเคราะห์ ผลกระทบของหนี้สาธารณะต่ออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของกลุ่มประเทศต่างๆ ด้วยวิธีการถดถอยแบบพาแนลควอนไทล์ ทำการเปรียบเทียบ ผลกับการวิธีการถดถอยโดยทั่วไป (condition mean) จากนั้นทำการเปรียบเทียบผลกระทบ ดังกล่าวของกลุ่มประเทศต่างๆ ที่มีระดับหนี้สาธารณะที่แตกต่างกันของ 156 ประเทศ โดยใช้ข้อมูลรายปีตั้งแต่ปี 1981–2010 ผลการศึกษา พบว่า หนี้สาธารณะมีผลกระทบทางลบต่ออัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจในทุกกลุ่มประเทศ แต่บางกลุ่มประเทศอาจมีผลกระทบแค่บางช่วงของอัตรา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเท่านั้น และกลุ่มประเทศเกือบทุกกลุ่มมีผลการศึกษาสอดคล้อง กับวิธีการถดถอยโดยทั่วไป และพบว่าขนาดของผลกระทบของหนี้สาธารณะต่ออัตราการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับระดับหนี้สาธารณะที่มีอยู่ของกลุ่มประเทศนั้น โดยกลุ่มประเทศที่มีผลกระทบมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (Newly Industrialized Asian Economies) กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชและมองโกเลีย (Commonwealth of Independent States and Mongolia) และกลุ่มประเทศที่มี ผลกระทบรองลงมาอีก (อันดับที่ 3) คือ กลุ่มประเทศยุโรปกลางและตะวันออก (Central and Eastern Europe) This study analyzes the impact of public debt on economic growth using panel quantile regression. The study compares the results of quantile regression and condtional mean. It also compares the impacts of public debt at the different level of public debt of 156 countries, using yearly data covering the period of 1981 to 2010. The findings of this study show that the public debt affects to economics growth in all country groups. But some country groups have the effect in some level of economics growth. Almost country groups have the consistent results with conditional mean model. It finds the magnitude of public debt to economics growth not related to the level of public debt. Three countries groups which highest effect is Newly Industrialized Asian Economies, Commonwealth of Independent States and Mongolia, and Central and Eastern Europe, respectively.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectหนี้สาธารณะen_US
dc.subjectอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจen_US
dc.subjectการถดถอยแบบควอนไทล์en_US
dc.subjectPublic debten_US
dc.subjectEconomic growthen_US
dc.subjectQuantile Regressionen_US
dc.titleการวิเคราะห์ผลกระทบของหนี้สาธารณะ ต่ออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ด้วยวิธีการถดถอยแบบควอนไทล์en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.