Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุวพิมพ์ เลี่ยมมินฟุลen_US
dc.contributor.authorรสริน โอสถานันต์กุลen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:05Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:05Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 17, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2556), 54-70en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/61039/50279en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71180-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องการวิเคราะห์ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกสินค้าเกษตร ของประเทศสมาชิกอาเซียนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสถานการณ์การส่งออกสินค้า เกษตรของประเทศไทย ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกสินค้าเกษตรของ ประเทศไทยและประเทศสมาชิกอาเซียน รวมถึงศักยภาพของการส่งออกสินค้าเกษตรของไทย และประเทศสมาชิกอาเซียน โดยใช้วิธีการหาค่าดัชนีความสามารถในการส่งออก รวมถึง ค่าส่วนแบ่งตลาดรวม ค่าผลกระทบทางโครงสร้าง ค่าผลกระทบทางการดำเนินงาน และ ค่าผลกระทบรวม สินค้าเกษตรที่ทำการศึกษา ได้แก่ สินค้าเกษตรสำคัญ 3 ชนิดตามรหัส ฮาโมไนซ์ คือ สินค้าเกษตรรหัส 16 ได้แก่ ของปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์ ปลาหรือสัตว์นํ้าจำพวก ครัสตาเซีย โมลลุสก์ หรือจากสัตว์นํ้าที่ไม่มีกระดูกสันหลังอื่นๆ สินค้าเกษตรรหัส 10 ได้แก่ ธัญพืช และสินค้าเกษตรรหัส 17 ได้แก่ นํ้าตาลและขนมทำจากนํ้าตาล ข้อมูลที่ใช้ได้แก่ มูลค่า การส่งออกสินค้าเกษตรทั้ง 3 ชนิดของประเทศสมาชิกอาเซียน, มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร ทั้ง 3 ชนิด จากตลาดโลกสู่ประเทศสมาชิกอาเซียน และข้อมูลการส่งออกสินค้าเกษตรทั้ง 3 ชนิดไปยังตลาดโลก ซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิรายปีตั้งแต่ พ.ศ. 2550-2554 ผลการศึกษาพบว่า ประเทศฟิลิปปินส์ ไทย และเวียดนามมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกสินค้า เกษตรรหัส 16 โดยที่ประเทศไทยมีการครองตลาดมากที่สุดและมีแนวโน้มครองส่วนแบ่ง ตลาดเพิ่มขึ้น ประเทศที่มีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกสินค้าเกษตรรหัส 10 ได้แก่ ประเทศกัมพูชา ลาว ไทย และเวียดนาม โดยที่ประเทศเวียดนามมีส่วนแบ่งตลาด สูงที่สุด ส่วนประเทศไทยมีแนวโน้มการครองส่วนแบ่งตลาดค่อนข้างทรงตัว ส่วนประเทศ ที่มีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการส่งออกสินค้าเกษตรรหัส 17 ได้แก่ ประเทศกัมพูชา ลาว ฟิลิปปินส์ และไทย โดยที่ประเทศไทยมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบทุกปีที่ทำการ ศึกษาและมีส่วนแบ่งตลาดที่สูงมาก The objectives of this study on the analysis of the comparative advantage in agricultural exports of ASEAN member states are to examine Thailand’s agricultural export situation, and determine the comparative advantage of Thailand and other ASEAN members in agricultural exports as well as individual country’s agricultural export potential. The analysis was based on the export specialization index, including the components of market share, structural effect, operational effect, and total effect. The agricultural commodities under investigation covered three major categories of traded products in the Harmonized Coding System (HS) including HS code 16 for edible preparations of meat, fish or crustacean and mollusk species, or other invertebrates, HS code 10 for cereals, and HS code 17 for sugars and sugar confectionery. Used for the analysis were the secondary annual data during 2007—2011 period on the export values of the products in the above three classifications originating from ASEAN member states, the export values of the products in the above three classifications from the world market destining at ASEAN member states, and the quantities of exports of the products in these three categories to the world market. The findings indicated the countries that had comparative advantage in the exports of HS code 16 products were the Philippines, Thailand, and Viet Nam with Thailand holding the largest market share which also had a tendency to grow further. Countries having comparative advantage in exporting HS code 10 products were found to be Cambodia, Laos, Thailand, and Viet Nam with Viet Nam holding the largest market share and Thailand tending to maintain a stable market share. Those countries with comparative advantage in exporting HS code 17 products appeared to be Cambodia, Laos, the Philippines, and Thailand with Thailand having the most trade advantage and the largest market share throughout the studied period.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบen_US
dc.subjectประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนen_US
dc.subjectฮาโมไนซ์ 2-digiten_US
dc.subjectcomparative advantageen_US
dc.subjectASEAN Economic Communityen_US
dc.subjectagricultural productsen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความได้เปรียบ โดยเปรียบเทียบในการส่งออกสินค้าเกษตร ของประเทศสมาชิกอาเซียนen_US
dc.title.alternativeANALYSIS OF THE COMPARATIVE ADVANTAGE IN AGRICULTURAL EXPORTS OF ASEAN MEMBERSen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.