Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71156
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐจารีย์ เถื่อนยืนยงค์en_US
dc.contributor.authorอะเคื้อ อุณหเลขกะen_US
dc.contributor.authorวันชัย มุ้งตุ้ยen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42, 3 (ก.ค.-กั.ย. 2558), 157-169en_US
dc.identifier.issn0125-0092en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/43576/36014en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71156-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อเป็นกิจกรรมที่สถานสงเคราะห์คนชราทุกแห่งควรดำเนินการการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ รวมทั้งอุปสรรคและความต้องการการสนับสนุนของสถานสงเคราะห์คนชราในประเทศไทย ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้อำนวยการหรือผู้รับผิดชอบหลักในการดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อของสถานสงเคราะห์คนชรา จำนวน 25 คน ระยะเวลาดำเนินการวิจัยระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2556 รวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามการดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาหลักประกอบด้วยการกำหนดโครงสร้างการป้องกันการติดเชื้อ การเฝ้าระวังการติดเชื้อ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การควบคุมการระบาดการทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ การดูแลสุขภาพบุคลากร การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ การให้ความรู้แก่บุคลากรการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการใช้ยาต้านจุลชีพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Infection prevention and control (IPC) is an important activity that should be conducted in homes for the aged. This descriptive study aimed to determine IPC practicesincluding obstacles and support needed for an effective IPC among homes for the aged in Thailand. The study population was the directors or the main personnel responsible for the IPC in 25 homes for the aged. The study was conducted between June and August, 2013. The data was collected using an IPC questionnaire developed by the researcher using literature review. Main contents included: structure of infection prevention,surveillance of infection, isolation precautions, outbreak control, disinfection andsterilization, employee health, elderly health, employee education, environmental controland antibiotic usage. Data was analyzed using descriptive statisticsen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อen_US
dc.subjectสถานสงเคราะห์คนชราen_US
dc.subjectImplementation of Infection Prevention and Control,en_US
dc.subjectHomes for The Ageden_US
dc.titleการดำเนินการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานสงเคราะห์คนชรา ประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeImplementation of Infection Prevention and Control in Homes for the Aged, Thailand.en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.