Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรรณพิไล ศรีอาภรณ์en_US
dc.contributor.authorนุชนาต สุนทรลิ้มศิริen_US
dc.contributor.authorกนกพร จันทราทิตย์en_US
dc.contributor.authorจิราวรรณ ดีเหลือen_US
dc.contributor.authorจิราภรณ์ นันท์ชัยen_US
dc.contributor.authorพฤกษลดา เขียวคำen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42, 3 (ก.ค.-กั.ย. 2558), 37-50en_US
dc.identifier.issn0125-0081en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/43430/35882en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71151-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการเป็นมารดาและบิดาครั้งแรกเป็นการเปลี่ยนผ่านที่สำคัญครั้งหนึ่งในชีวิตที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตที่อาจนำไปสู่ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้าของมารดาและบิดาที่มีบุตรคนแรกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า ได้แก่ ความเครียด และการสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เป็นมารดาและบิดาครั้งแรกที่มีบุตรอายุ 6-8 สัปดาห์ จำนวน 116คู่ รวบรวมข้อมูลณ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเชียงใหม่ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงกันยายน พ.ศ. 2557 เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบประเมินภาวะซึมเศร้าหลังคลอด อีเดนเบิร์ก ฉบับภาษาไทยแปลโดย จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์ ทิพวรรณ เลียบสื่อตระกูล และอานนท์ วิทยานนท์(2550) แบบวัดความรู้สึกเครียด ฉบับแปลเป็นภาษาไทยโดย ณหทัย วงศ์ปการันย์ และทินกร วงศ์ปการันย์(2553) แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมของบิดาของ ศุภกร ไชยนา(2556) และแบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมของมารดาหลังคลอดของ นลินี สิทธิบุญมา(2558) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงอันดับสเปียร์แมน Being a first time mother or father is an important transition in life that affects mental health and may lead to postpartum depression. The purpose of this descriptive correlationalresearch study was to explore stress, social support and postpartum depression among first time mothers and fathers. The subjects were 116 fathers and mothers of children aged 6-8 weeks. Data were collected at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital and Chiang Mai Health Promotion Hospital during June to September, 2014. The research instruments used were The Edinburgh Postnatal Depression Scale : Thai version translated by Pitanupong et al. (2007), The Perceived Stress Scale-10 : Thai version translated by Wongpakaran & Wongpakaran(2010), the Social Support Questionnaire for Father developed by Chaina (2013), and the Social Support Questionnaire for Postpartum Mother developed by Sithiboonma (2015). Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman’s Rank Correlation.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectภาวะซึมเศร้าหลังคลอดen_US
dc.subjectความเครียดen_US
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectมารดาที่มีบุตรคนแรกen_US
dc.subjectบิดาที่มีบุตรคนแรกen_US
dc.subjectPostpartum depressionen_US
dc.subjectStressen_US
dc.subjectSocial supporten_US
dc.subjectFirst time motheren_US
dc.subjectFirst time fatheren_US
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอดของมารดาและบิดาที่มีบุตรคนแรกen_US
dc.title.alternativeFactors Related to Postpartum Depression among First Time Mothers and Fathersen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.