Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71141
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเกษรา แก้วนิลen_US
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ กิจศรีไพศาลen_US
dc.contributor.authorปรีย์กมล รัชนกุลen_US
dc.date.accessioned2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.available2021-01-27T03:33:04Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 42, 3 (ก.ค.-กั.ย. 2558), 51-60en_US
dc.identifier.issn0125-0082en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/43436/35888en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71141-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractความหวังเป็นสิ่งสำคัญในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัดในการเพิ่มขีดความสามารถในการเผชิญต่อภาวะวิกฤติของชีวิตโดยทำให้ป่วยเกิดความเข้มแข็ง อดทน ต่อความทุกข์ทรมานจากอาการของโรค และผลข้างเคียงจากการรักษา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และปัจจัยการทำนาย ความหวังในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด ณ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติและโรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณ์ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 131 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความหวัง แบบประเมินความเหนื่อยล้า แบบประเมินความผาสุกทางจิตวิญญาณ และแบบวัดการสนับสนุนทางสังคม ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3ท่าน วิเคราะห์ความเที่ยงของเครื่องมือ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค เท่ากับ .85, .94, .89, .91 ตามลำดับ ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์ร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น Hope is essential in increasing the capacity of breast cancer patients receieving chemotherapy to face this crisis. Hope can help patents be stronger and endure their suffering, including the side effects of the treatment. This research used a correlated design aimed to explore the factors predicting hope among breast cancer patientsreceiving chemotherapy. One hundred and thirty-one participants were selected by purposive sampling from Thammasat University Hospital and MahavajiralongkornthanyaburiHospital, in Pathumthani Province. The instruments of this study were as the following: a demographic questionnaire, and a hope, fatigue, spiritual well-being, and social supportquestionnaires. The latter questionnaire was tested for the content validity by three experts. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, Pearson's productmoment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysisen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความหวังen_US
dc.subjectความเหนื่อยล้าen_US
dc.subjectความผาสุกทางจิตวิญญาณen_US
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัดen_US
dc.subjectHopeen_US
dc.subjectFatigueen_US
dc.subjectSpiritual well-beingen_US
dc.subjectSocial supporten_US
dc.subjectBreast cancer patients receiving chemotherapyen_US
dc.titleปัจจัยทำนายความหวังในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัดen_US
dc.title.alternativeThe Factors Predicting Hope among Breast Cancer PatientsReceiving Chemotherapyen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.