Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71054
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เธียรธีรวิทย์-
dc.contributor.advisorวรลักษณ์ หิมะกลัส-
dc.contributor.authorเจนจิรา อุปคุตฆ์en_US
dc.date.accessioned2020-10-22T06:38:45Z-
dc.date.available2020-10-22T06:38:45Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/71054-
dc.description.abstractThis study aims to examine the determinants, behavior, and problems of the GSB customers in using mobile banking services provided by the Government Savings Bank in Chiang Rai Province. The needed information was collected from 400 samples of the GSB customers, from which 174 samples are the customers of the GSB branches in Mueang District and 226 samples are the customers of the GSB branches in other Districts of Chiang Rai Province. The analysis was performed upon the results of descriptive statistics and the Likert-scale ratings of determinants and problems. It was found that the majority of the samples are characterized as female, married, 40 years old on average, with bachelor’s degree education, government or state-enterprise or private-sector worker by occupational group, and earning 10,001 – 30,000 baht monthly income. The most important factor determining the choice of the GSB customers to use the GSB mobile banking services was found to be the price factor for the attributes of no charge for account balance inquiry and reasonable cash withdrawal fee. Product is the second most important factor for the attribute of diverse banking services including information and bill payments. The thirst most important determinant is the promotion factor for the gift offered upon the application for the use of mobile banking services and the public relation component through various information channels of the bank.On consumer behavior, the study found that the samples have been using the GSB mobile banking services for two years on average, most of them use the services during the hours of 12.01 – 24.00 generally in office or at home, mainly for the purposes of checking account balance and inquiring about GSB Digital Salak, and they got information about the GSB mobile banking services from the internet and the bank personnel. The GSB customers under study on average had high satisfaction with the GSB mobile banking services. However, they faced some problems in using the services predominantly the difficulty of contacting call center workers, followed by the limited availability of ATMs that accept MyMo MyCard.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพฤติกรรมen_US
dc.subjectบริการen_US
dc.subjectโมบายแบงค์กิ้งen_US
dc.subjectลูกค้าen_US
dc.subjectธนาคารออมสินen_US
dc.titleพฤติกรรมของลูกค้าในการเลือกใช้บริการโมบายแบงค์กิ้งจากธนาคารออมสิน จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeCustomers’ behavior towards the use of mobile banking from government savings bank, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashธนาคารทางอินเทอร์เน็ต-
thailis.controlvocab.thashการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์-
thailis.controlvocab.thashธนาคารและการธนาคาร -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ-
thailis.controlvocab.thashธนาคารออมสิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลและพฤติกรรมการใช้บริการโมบายแบงค์กิ้ง รวมถึงปัญหาจากการใช้บริการ โมบายแบงค์กิ้งของลูกค้าธนาคารออมสินจากจังหวัดเชียงราย โดยทําการสอบถามกลุ่มตัวอย่างจํานวน 400 ราย ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มตัวอย่างจากสาขาในอําเภอ เมืองเชียงราย 174 ราย และกลุ่มตัวอย่างจากสาขาอําเภออื่น ๆ ในจังหวัดเชียงราย 226 ราย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การให้น้ําหนักความสําคัญของปัจจัยที่มีผลและปัญหา ที่เกิดขึ้นจากใช้บริการ โดยใช้ลิเคิทสเกล TINTL ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นหญิงที่สมรสแล้วอายุเฉลี่ย 40 ปี มีการศึกษา ระดับปริญญาตรี อาชีพข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจและพนักงานเอกชน รายได้ต่อเดือน 10,001 - 30,000 บาท ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการ โมบายแบงค์กิ้งลําดับที่ 1 คือ ด้านราคา ซึ่งประกอบด้วยการไม่มีค่าธรรมเนียมในการสอบถามบัญชีและค่าธรรมเนียมในการถอนเงินสด มีความเหมาะสม ลําดับที่ 2 คือ ด้านผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบด้วยการให้บริการที่หลากหลาย ทั้งการสอบถามข้อมูลและการชําระค่าบริการต่าง ๆ ลําดับที่ 3 คือ ด้านการส่งเสริมการตลาด ซึ่งประกอบด้วย การได้รับของที่ระลึกเมื่อสมัครใช้บริการและการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ ของธนาคาร กลุ่มตัวอย่างมีระยะเวลาการใช้บริการ โมบายแบงค์กิ้งโดยเฉลี่ยคนละ 2 ปี ส่วนใหญ่ ช่วงเวลาที่ใช้คือ 12.01 – 24.00 น. สถานที่ใช้บริการคือที่ทํางานและที่บ้าน ประเภทธุรกรรม ที่นิยมใช้คือ การสอบถามยอดบัญชีเงินฝากและสอบถามข้อมูลสลากดิจิทัล แหล่งข้อมูลที่ทําให้ ทราบถึงบริการ โมบายแบงค์กิ้งคือจากอินเทอร์เน็ตและจากพนักงานธนาคาร กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในการใช้บริการ โมบายแบงค์กิ้งอยู่ในระดับมาก ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้บริการ โมบาย แบงค์กิ้งคือ การติดต่อพนักงานคอลเซ็นเตอร์ทําได้ยากและตู้เอทีเอ็ม ที่สามารถใช้บริการ MyMo MyCard มีน้อย ตามลําดับen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
581632007 เจนจิรา อุปคุตฆ์.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.