Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69829
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจุไรรัตน์ ฉิมระฆังen_US
dc.contributor.authorปารเมศ ชุติมาen_US
dc.date.accessioned2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.available2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 106-120en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_2/09.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69829-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractวิธีเชิงพันธุกรรมแบบการจัดลำดับที่ไม่ถูกกรอบงำ II (Non-dominated Sorting Genetic Algorithm II: NSGA-II) มีหลักการในการแก้ปัญหาแบบมากวัตถุประสงค์ด้วยการสร้างจุดอ้างอิง (Reference Point) ที่มีลักษณะ เป็นเวกเตอร์หลายมิติ เพื่อหากลุ่มคำตอบที่มีระยะตั้งฉากที่สั้นที่สุดเมื่อเทียบกับจุดอ้างอิงแต่ละจุด บทความนี้จึงเสนอ NSGA-II มาเปรียบเทียบกับวิธีการเชิงวิวัฒนาการแบบหลายวัตถุประสงค์โดยยึดหลักการจำแนก (Multi-Objective Evolutionary Algorithm Based on Decomposition: MOEA/D) ในการแก้ปัญหาการจัดสรรพนักงานบน สายการผลิตรูปตัวยูแบบหลายสาย ประกอบไปด้วย 5 วัตถุประสงค์ ได้แก่ เวลาว่างของพนักงานน้อยที่สุด จำนวน พนักงานน้อยที่สุด อรรถประโยชน์การทำงานของพนักงานมากที่สุด เวลาเดินของพนักงานน้อยที่สุด และความแตกต่าง เวลาเดินของพนักงานน้อยที่สุด ซึ่งผลการทดลองพบว่า NSGA-II มีสมรรถนะที่ดีกว่า MOEA/D ในด้านการลู่เข้าสู่ กลุ่มคำตอบที่เหมาะสมที่สุดชิงพารโต ด้านการลู่ข้าและความหลากหลายของคำตอบ และด้านอัตราส่วนของคำตอบที่ ไม่ถูกครอบงำ ผลการทดลองพบว่า NSGA-II มีประสิทธิภาพที่เหนือกว่า MOEA/D เมื่อเปรียบเทียบในมุมมองของ พาเรโต Non-dominated Sorting Genetic Algorithm III (NSGA-III) is a multi-objective algorithm which uses reference points in generating the n-dimensional vector space in order to find the set of objective functions which is the shortest perpendicular distance to each of them. The purpose of the research is to compare the performance of NSGA III and MOEA/D on the worker allocation problem on multiple cellular U-shaped assembly lines attempting to realize five objectives, i.e. minimizing idle worker, minimizing number of workers, maximizing utilization of workers, minimizing walking time and minimizing the deviation of walking time. The experiments showed that NSGA-III performs better than MOEA/D in terms of convergence to Pareto optimal set, convergence and diversity metrics and ratio of Non-dominated Solutions.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสายการผลิตรูปตัวยูแบบหลายสายของระบบเซลลูล่าร์en_US
dc.subjectการจัดสมดุลสายการผลิตen_US
dc.subjectมากวัตถุประสงค์en_US
dc.subjectMultiple cellular u-shapeden_US
dc.subjectLine-Balancingen_US
dc.subjectMany-objectivesen_US
dc.titleการแก้ปัญหาการจัดสรรพนักงานบนสายการผลิตรูปตัวยูแบบหลายสายของระบบเซลลูล่าร์แบบมากวัตถุประสงค์en_US
dc.title.alternativeWorker Allocation Problem on Multiple Cellular U-Shaped Lines Under Many-Objectivesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.