Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69817
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมชาย จิราวัฒนาการen_US
dc.contributor.authorกฤษดา ตระกูลจั่นนาคen_US
dc.contributor.authorพรเกษม จงประดิษฐ์en_US
dc.date.accessioned2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.available2020-10-08T07:27:24Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 27, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 28-38en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/27_2/03.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69817-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.description.abstractบทความนี้วิเคราะห์ผลกระทบของเสาเข็มรับแรงต่อผลตอบสนองในอุโมงค์แบบชิ้นส่วนประกอบที่อยู่ข้างเคียงโดยให้ความสำคัญแก่การเปรียบเทียบระหว่างการจำลองอุโมงค์เป็นแบบผนังต่อเนื่องกับแบบชิ้นส่วนประกอบ และปัจจัยอิทธิพลต่างๆโดยเฉพาะตา แหน่งชิ้นส่วนคีย์เซ็กเมนต์สัมพัทธ์กับตำแหน่งของปลายเสาเข็ม ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าผลตอบสนองในอุโมงค์แบบชิ้นส่วนประกอบแตกต่างกบัของอุโมงค์ที่จำลองแบบต่อเนื่องโดยการเสียรูปของผนังอุโมงค์ แบบชิ้นส่วนประกอบมีค่ามากกว่าการเสียรูปของผนังอุโมงค์แบบต่อเนื่องทั้งในขั้นตอนหลังการก่อสร้างและมีเสาเข็มรับ แรงอยู่ด้านข้าง ในทางตรงกันข้ามแรงภายในของโครงสร้างผนังอุโมงค์แบบชิ้นส่วนประกอบมีค่าน้อยกว่าแรงภายในโครงสร้างผนังอุโมงค์แบบต่อเนื่อง พฤติกรรมดังกล่าวมีสาเหตุจากผลกระทบของข้อต่อ ส่งผลให้ผนังอุโมงค์แบบชิ้นส่วน ประกอบมีความยืดหยุ่นสูงขึ้นนอกจากนี้ตำแหน่งของชิ้นส่วนคีย์เซ็กเมนต์ของผนังอุโมงค์ที่สัมพัทธ์กับตำแหน่งของปลาย เสาเข็ม มีบทบาทสำคัญต่อทั้งการเสียรูปโดยรวมเฉพาะที่และแรงภายในของผนังอุโมงค์ This present study analyses the impacts of pile under loading on the responses of existing tunnel segmental lining. The main focus is the comparison between modelling the tunnel as continuous and segmental linings. Key influencing parameters, particularly the relative position of key segment with respect to the pile tip, are also investigated. The results show that the responses of the segmental and continuous linings are different. The deformation of tunnel segmental lining is greater than that of the tunnel continuous lining, both after tunneling step and loaded pile step. By contrast, the structural forces of tunnel segmental lining are smaller than those of the tunnel continuous lining. The effects of segments and joints can be clearly seen. The joints result to the higher flexibility of the tunnel lining. Moreover, the positions of key segment of tunnel lining plays an important role on the overall and localized tunnel deformations as well as the distribution of structural forces.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผนังอุโมงค์แบบชิ้นส่วนen_US
dc.subjectเสาเข็มen_US
dc.subjectอุโมค์en_US
dc.subjectผลกระทบen_US
dc.subjectSegmental liningen_US
dc.subjectpileen_US
dc.subjecttunnelen_US
dc.subjectimpacten_US
dc.titleการวิเคราะห์เชิงตัวเลขของผลตอบสนองอุโมงค์แบบชิ้นส่วนประกอบเนื่องจากเสาเข็มรับแรงข้างเคียงen_US
dc.title.alternativeNumerical Investigation of Responses of Tunnel Segmental Lining due to Adjacent Loaded Pileen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.