Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69779
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวัฒน์ นันทศรี-
dc.contributor.authorพัชราภรณ์ อุตตมาen_US
dc.date.accessioned2020-10-06T07:30:13Z-
dc.date.available2020-10-06T07:30:13Z-
dc.date.issued2020-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69779-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to investigate contexts knowledge management and to develop knowledge management guidelines for Procurement Division of Land Development Regional Office 6. The qualitative research was implemented in this research. The population are 2 groups which are the procurement supervisor and parcel worker. There are 8 interviewees. The research tool was Semi- Structured interview and analytical tools in data analysis is content analysis. The research results were found that Problems related to knowledge management is knowledge sharing that there is an exchange and sharing of knowledge specific to the problem area there is not dissemination to share knowledge from attending meetings, trainings, seminars to others. The result of Knowledge management process found; knowledge creation and acquisition from the seminar and attending meetings inquiries from the responsible person to find solutions and knowledge transfer there are studies to find information from the internet databases and resources. There are 3 knowledge organization collecting: 1) knowledge of procurement 2) knowledge of parcel control and 3) knowledge of parcel inspection. The supporting factors for knowledge management of procurement are (1) infrastructure, technology and process factors (2) personal factors in leadership (3) factors of working skills especially knowledge skills and competence and (4) organizational factors. For the guidelines to provide the development of knowledge management for Procurement Division, there were 3 issues as follows: 1) the operator of the supplies and personnel in the organization. There is still a lack of knowledge and understanding of knowledge management, so the policy on supplies should be clearly formulated and the goals are announced and guidelines for knowledge management of supplies for staff and personnel by establishing a knowledge management team responsible for the knowledge management of supplies to come to work in the knowledge management field of supplies promote the participation and communication of parcel workers regularly through multiple channels such as leveraging social media such as Facebook Line by creating a Communities of Practice: CoP group, as well as being responsible for organizing activities various that encourages the exchange of knowledge on supplies. 2) Knowledge management process, including knowledge sharing, knowledge creation and acquisition, knowledge storage and knowledge transfer should use information technology to support the process, such as using Zoom or Microsoft Teams in a meeting, to consulting on operational problems follow-up of knowledge management including online training in a mentoring system. 3) should have a Knowledge Base to storing and disseminating knowledge by Google Drive and Facebook group. The retrieval rights are set for parcel workers and the general public and 4) should monitor the application of knowledge management this can be done by surveying the statistics on the number of queries related to the supply chain, if the statistics are reduced and if the organization can reduce operating procedures it brings convenience, speed, cost reduction and resource consumption. It is considered to achieve the goal of knowledge management in the organization as well as being able to explore satisfaction evaluate the effectiveness of knowledge management in the organization. Performance tracking or evaluation through Google Forms that can be connected to Google Drive to store results and can be used immediately.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดการความรู้en_US
dc.subjectงานพัสดุen_US
dc.subjectสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6en_US
dc.titleแนวทางการจัดการความรู้ด้านงานพัสดุของสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6en_US
dc.title.alternativeGuideline knowledge management of procurement division of Land Development Regional Office 6en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพัสดุ-
thailis.controlvocab.thashการบริหารองค์ความรู้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการจัดการความรู้ด้านงานพัสดุ และพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 โดยผู้วิจัยเลือกใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประชากรมีจำนวน 2 กลุ่ม คือหัวหน้างานพัสดุ และผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ รวมทั้งสิ้นจำนวน 8 คน เครื่องมือในการเก็บข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง 2 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์สำหรับหัวหน้างานพัสดุ และ 2) แบบสัมภาษณ์สำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ คือการแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้ทาในวงแคบ และมีการแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้เฉพาะเรื่องที่เป็นปัญหา ไม่มีการเผยแพร่แบ่งปันความรู้จากการไปร่วมประชุม อบรม สัมมนา ให้แก่คนอื่นๆ ผลการศึกษากระบวนการจัดการความรู้ พบว่ามีการสร้างและแสวงหาความรู้จากการอบรมสัมมนา และการเข้าร่วมประชุมภายนอก มีการสอบถามจากผู้ที่รับผิดชอบ การประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไข การถ่ายทอดประสบการณ์ มีการศึกษาหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ฐานข้อมูลและแหล่งสารสนเทศ และมีการสอบถามจากผู้รู้ การจัดเก็บความรู้ด้านพัสดุมีการจัดเก็บ 3 ด้าน ได้แก่ 1) ความรู้ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง 2) ความรู้ด้านการควบคุมพัสดุครุภัณฑ์ และ 3) ความรู้ด้านการตรวจสอบพัสดุ และปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ในด้านงานพัสดุ มีดังนี้ 1) ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีและกระบวนการ 2) ปัจจัยบุคคลด้านภาวะผู้นำ 3) ปัจจัยด้านทักษะการทำงาน โดยเฉพาะความรู้ ทักษะ และขีดความสามารถ และ 4) ปัจจัยด้านองค์กร จากผลการศึกษาการพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ด้านงานพัสดุ พบว่ามี 3 ประเด็น ดังนี้1) ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ และบุคลากรในองค์กร ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดการความรู้ ดังนั้น จึงควรมีการกาหนดนโยบายการจัดการความรู้ด้านพัสดุให้ชัดเจนและมีการประกาศให้ทราบถึงเป้าหมาย และแนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ด้านพัสดุให้เจ้าหน้าที่และบุคลากร โดยจัดตั้งทีมงานจัดการความรู้ที่รับผิดชอบการจัดการความรู้ด้านพัสดุ เพื่อมาทางานด้านการจัดการความรู้ด้านงานพัสดุ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและมีการสื่อสารของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุอย่างสม่ำเสมอผ่านหลายช่องทาง เช่น การนำสื่อสังคมออนไลน์มาใช้ประโยชน์ เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์ โดยสร้างกลุ่ม Communities of Practice: CoP ในไลน์ตลอดจนรับผิดชอบในการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านพัสดุ 2) กระบวนการจัดการความรู้ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดเก็บความรู้และการถ่ายทอดความรู้ ควรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนในกระบวนการดังกล่าว เช่น ใช้โปรแกรม Zoom หรือ Microsoft Teams ในการประชุมชี้แจงงาน การปรึกษาหารือถึงปัญหาการดำเนินงาน การติดตามผลการจัดการความรู้ รวมถึงการอบรมออนไลน์โดยในระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) ก็สามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศดังกล่าวมาใช้สนับสนุนการถ่ายทอดความรู้ได้ด้วย 3) ควรมีการจัดทำฐานข้อมูล (Knowledge Base) เพื่อสนับสนุนการจัดการความรู้ภายในองค์กรของตน หรือการนาเอาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาช่วยในการจัดเก็บความรู้ขององค์กร ได้แก่ การจัดเก็บและเผยแพร่ความรู้ผ่าน Google drive และในกลุ่มเฟสบุ๊ค โดยมีการกำหนดสิทธ์ิสำหรับการเรียกใช้ข้อมูลสาหรับผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุและบุคคลทั่วไป และ 4) ควรติดตามการนำการจัดการความรู้ไปใช้ประโยชน์ สามารถทำได้โดยการสำรวจสถิติจำนวนครั้งในการสอบถามปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานพัสดุหากพบว่าสถิติลดลง และหากองค์กรสามารถลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ลดค่าใช้จ่ายและลดการใช้ทรัพยากร ก็ถือว่าบรรลุเป้าหมายของการจัดการความรู้ในองค์กร ตลอดจนสามารถสำรวจความพึงพอใจประเมินประสิทธิภาพการจัดการความรู้ในองค์กร การติดตามหรือประเมินผลการทางานผ่าน GoogleForms ที่สามารถเชื่อมต่อกับ Google Drive เพื่อจัดเก็บผลลัพธ์และสามารถนำไปใช้งานได้ทันทีen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580132020 พัชราภรณ์ อุตตมา.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.