Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69774
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลิวา ผาดไธสง-
dc.contributor.authorสุภามาศ สงวนศักดิ์สันติen_US
dc.date.accessioned2020-10-05T08:42:50Z-
dc.date.available2020-10-05T08:42:50Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69774-
dc.description.abstractThe study of the Mlabri and Access to Health Services in Wiang Sa District, Nan Province" aimed to:1) analyse the situation and factors related to health problems of Mlabri; 2) study the access patterns of health services of Mlabri; and 3) analyse factors related to problems, obstacles and recommendation to healthcare access and health promotion of Mlabri in Wiang Sa District, Nan province. Results showed that between 2007 and 2016, the situation of diseases and illness of Mabri in Wiang Sa District, Nan province, was mostly found in communicable diseases, followed by accidents, and non-communicable diseases, respectively. For the birth rate, the rate in 2016 was 36 (per thousand population) which was almost 5 times the rate of Nan province in the same year. In addition, the use of service in birth deliveries were very low compared to birth statistics, reflecting social value of Mabri that like to give birth at home. The analysis of the 2016 Mlabri population structure showed that the median age was 16.50 years which has been considered as the young population age structure.For the capability of healthcare access, it was found that the majority of the Mlabri received health knowledge and information from local public health officers. Every Mlabri has the right and welfare in healthcare and does not has to pay for treatments. Most of the Mlabri chose to use services from the community public health center and would not choose to go for treatments at the hospital due to limitations in travel cost, and government policy in birth control. Results from this study give a better understanding on the livelihood of Mlabri in the study area and health situation, access and limitation in healthcare. The results from this study can be used for problem-solving and for proactive regulations in institutions involved in public health and others that help to support the Mlabri or other ethnic groups to improve their quality of life sustainably.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมลาบรีen_US
dc.subjectสุขภาพen_US
dc.titleมลาบรี กับการเข้าถึงสุขภาพในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่านen_US
dc.title.alternativeThe Mlabri and access to health services in Wiang Sa District, Nan Provinceen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashชนเผ่าตองเหลือง-
thailis.controlvocab.thashมลาบรี-
thailis.controlvocab.thashผีตองเหลือง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง “มลาบรี กับการเข้าถึงบริการสุขภาพ ในอําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพของชนเผ่ามลาบรี 2) ศึกษาความสามารถ ในการเข้าถึงบริการสุขภาพของชนเผ่ามลาบรี และ 3) วิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหา อุปสรรคและ ให้ข้อเสนอแนะต่อการเข้าถึงบริการทางด้านสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพของชนเผ่ามลาบรี ในอําเภอ เวียงสา จังหวัดน่าน ผลการศึกษา ระหว่างปี พ.ศ. 2550 – 2559 พบว่าสถานการณ์โรคและการเจ็บป่วย ของชนเผ่ามลาบรี พบมากที่สุดในโรคติดต่อ ตามมาด้วยอุบัติเหตุ และโรคไม่ติดต่อ สําหรับอัตราการเกิด ในปี พ.ศ. 2559 คือ 36 คนต่อประชากรพันคน ซึ่งคิดเป็นเกือบ 5 เท่าของอัตราการเกิดของจังหวัดน่านใน ปีเดียวกัน และการเข้ามารับบริการด้านการคลอดบุตรมีจํานวนที่น้อยมากเมื่อเทียบกับสถิติการเกิดจริง สะท้อนถึงค่านิยมของชนเผ่ามลาบรีที่นิยมทําคลอดเอง การวิเคราะห์โครงสร้างประชากรในปี พ.ศ. 2559 พบว่า ค่าอายุมัธยฐานอยู่ที่ 16.50 ปี ซึ่งถือว่าเป็นโครงสร้างประชากรแบบ “เด็ก” ในส่วนของความสามารถในการเข้าถึงบริการทางสุขภาพ พบว่า ชนเผ่ามลาบรีส่วนใหญ่ได้รับความรู้ และข้อมูลข่าวสารจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขชุมชน ทุกคนมีสิทธิและสวัสดิการในการรักษาและไม่ เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล โดยส่วนใหญ่เลือกใช้บริการสถานบริการสุขภาพชุมชน และไม่ นิยมเลือกไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลเนื่องจากข้อจํากัดเรื่องค่าใช้จ่ายในการเดินทาง และนโยบาย รัฐในเรื่องการควบคุมการเกิด ผลจากการศึกษาครั้งนี้ทําให้เข้าใจบริบทการดําเนินชีวิตของชนเผ่า มลาเดีในพื้นที่ศึกษาและสถานการณ์ทางด้านสุขภาพ และข้อจํากัดในการเข้าถึงบริการทางสุขภาพ โดยผลจากการศึกษาครั้งนี้ สามารถนําไปใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา และการตั้งมาตรการเชิง รุกในการให้บริการทางสุขภาพของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยงานทางด้านสาธารณสุขและอื่นๆ ที่จะช่วยสนับสนุนให้ชนเผ่ามลาบรี หรือกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ มีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนต่อไปen_US
Appears in Collections:SOC: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.