Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69740
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อลงกรณ์ คูตระกูล-
dc.contributor.authorลัดดาวัลย์ สีทองen_US
dc.date.accessioned2020-08-28T09:45:00Z-
dc.date.available2020-08-28T09:45:00Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69740-
dc.description.abstractThis research aims to study the managerial competencies level of the sub-district health promotion hospitals directors in Mae Hong Son. It is to also learn about the managerial competencies level of the sub-district health promotion hospitals directors in Mae Hong Son in different context. Thirdly, it is to form human resource development plan for the position of the subdistrict health promotion hospitals directors in Mae Hong Son based on the overall and diversecontext managerial competencies of the sub-district health promotion hospitals directors in Mae Hong Son. Qualitative research methodology was applied in this study. The tools used in this study were the managerial competencies evaluation form for 71 the sub-district health promotion hospitals directors which was brought to and filled by their direct commanders who sit in District Public Health in 7 Amphoes, as well as the semi-structured interview in the in-depth interview with the policy executives of Mae Hong Son provincial public health office. The study indicated that the overall managerial competencies of the sub-district health promotion hospitals directors in Mae Hong Son is higher than the expected competencies level. The highest competencies are leadership, self-control, and strategic orientation respectively. Secondly, it is also found that the managerial competencies of the sub-district health promotion hospitals directors in different contexts is higher than the expected competencies level of all contexts. The competencies of the sub-district health promotion hospitals directors in the city are higher than of the sub-district health promotion hospitals directors in special and rural areas. Finally, the subdistrict health promotion hospitals in Mae Hong Son places long-term human resource development plan for the position of Director. It covers all procedures; from recruiting and selecting, developing managerial, administrative, and academic knowledges, as well as enhancing the required managerial competencies which are information technology and others pertaining to the competency evaluation. Staff with high performance and potential will be developed, by focusing on the operators in Amphoe, which leads to the succession plan for the position of the sub-district health promotion hospitals in Mae Hong. For the recommendations from the research result, firstly, there should be an annual managerial competencies development course, which focuses on strategic orientation, for the subdistrict health promotion hospitals directors in Mae Hong Son. Secondly, the Provincial Public Health Office should form the provincial-context-related basic curriculum for the executives, with its contents follow the criteria of the Office of the Civil Service Commission. It should also reinforce and develop the essential competencies for the sub-district health promotion hospitals directors in Mae Hong Son and the officers of sub-district health promotion hospitals to produce the efficient performance and the benefits for succession plan for the position of the sub-district health promotion hospitals in Mae Hong. For recommendations for further study, there should be the study on the competencies of public health officers of different positions in the sub-district health promotion hospitals, so it can be implemented in position management and succession plan for the position of the sub-district health promotion hospitals in Mae Hong. Secondly, quantitative research should be conducted in order to explore other factors which feasibly affect the administrative competency of the sub-district health promotion hospitals directors in Mae Hong Son; such as experience in administrative training, operational achievement, or employee engagement etc. in order to further place the development plan and leverage it for human resource management.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสมรรถนะทางการบริหารen_US
dc.subjectผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลen_US
dc.titleสมรรถนะทางการบริหารของผู้อ านวยการโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต าบลในจังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeAdministrative Competenciesof the Sub-district Health Promotion Hospital Directors in Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะทางการบริหารของผู้อํานวยการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลจังหวัดแม่ฮ่องสอน 2) เพื่อศึกษาสมรรถนะทางการบริหารของ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลสุขภาพตําบลในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในบริบทพื้นที่แตกต่างกัน 3) เพื่อจัดทํา แผนพัฒนาบุคลากรตําแหน่งผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล บนฐานสมรรถนะ ทางการบริหาร ของผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในภาพรวม และในกรณีบริบทพื้นที่แตกต่างกัน การศึกษานี้ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีเครื่องมือในการศึกษาคือ 1) แบบประเมิน สมรรถนะทางการบริหารของผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล โดยผู้บังคับบัญชาสาย ตรงของกลุ่มผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล ซึ่งได้แก่ผู้ดํารงตําแหน่งสาธารณสุข อําเภอ 7 อําเภอเป็นผู้ประเมินผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล จํานวน 71 คน 2) แบบ สัมภาษณ์ถึงมีโครงสร้าง ในการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้บริหารระดับนโยบายของสํานักงานสาธารณสุข จังหวัดแม่ฮ่องสอน และผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในภาพรวม มีสมรรถนะทางการบริหารอยู่ในระดับสูงกว่าระดับสมรรถนะที่คาดหวัง โดยสมรรถนะ ทางการบริหารที่มีมากอันดับแรก คือด้านสภาวะผู้นํา รองลงมาคือด้านการควบคุมตนเอง และด้าน การวางกลยุทธ์ภาครัฐ อยู่ในระดับน้อย 2) สมรรถนะทางการบริหารของผู้อํานวยการโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตําบลในบริบทพื้นที่แตกต่างกัน พบว่ามีระดับสูงกว่าระดับสมรรถนะที่คาดหวังทุก บริบทพื้นที่ และผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในบริบทพื้นที่เมืองมีสมรรถนะโดยรวมสูงกว่าผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบริบทพื้นที่พิเศษ และบริบทพื้นที่ ชนบท 3) แผนพัฒนาบุคลากรตําแหน่งผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในจังหวัด แม่ฮ่องสอน เป็นแผนระยะยาว ที่ครอบคลุมทั้งกระบวนการ ตั้งแต่สรรหาและคัดเลือก พัฒนาความรู้ ทางด้านบริหาร บริการ และด้านวิชาการ รวมถึงการพัฒนาสมรรถนะทางการบริหารที่ต้องได้รับการ พัฒนา และสมรรถนะที่จําเป็นได้แก่สมรรถนะความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านอื่นๆ ตาม ผลการประเมินสมรรถนะ และพัฒนาบุคลากรที่มีผลการปฏิบัติงานสูง(High Performance) และมี ศักยภาพในการปฏิบัติงานสูง (High potential) โดยเน้นผู้ปฏิบัติงานจากภายในอําเภอ เพื่อนําไปสู่ แผนการทดแทนตําแหน่งงาน (Succession Plan) ในตําแหน่งผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตําบลในจังหวัดแม่ฮ่องสอน 2 ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา 1) ควรกําหนดให้มีหลักสูตรการเสริมสร้างและพัฒนา สมรรถนะทางการบริหารแก่ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล โดยดําเนินการอย่าง ต่อเนื่องทุกปี เน้นสมรรถนะด้านการวางกลยุทธ์ภาครัฐ 2) สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดควรจัดทํา หลักสูตรผู้บริหารระดับต้น ที่เหมาะสมกับบริบทของจังหวัด เป็นหลักสูตรที่มีเนื้อหาตามที่ สํานักงาน ก.พ. กําหนด และเสริมสร้างและพัฒนาสมรรถนะที่จําเป็นสําหรับผู้อํานวยการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในจังหวัดแม่ฮ่องสอน และบุคลากรในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตําบลเพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และประโยชน์ในการวางแผนการสืบทอดตําแหน่ง ผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล ต่อไป ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 1)ควรมีการศึกษาสมรรถนะบุคลากรสาธารณสุข ตําแหน่งอื่นในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อนํามาใช้ในการบริหาร ตําแหน่ง และวางแผนการสืบทอดตําแหน่งผู้อํานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล 2) การ วิจัยเชิงปริมาณ เพื่อหาปัจจัยอื่นๆ ที่คาดว่าน่าจะส่งผลต่อสมรรถนะทางการบริหารของผู้อํานวยการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล เช่น ประสบการณ์การฝึกอบรมทางการบริหาร ผลสําเร็จในการ ปฏิบัติงาน หรือความผูกพันต่อองค์กร เป็นต้น เพื่อนํามาวางแผนพัฒนาและใช้ประโยชน์ในการ บริหารทรัพยากรบุคคลต่อไปen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932013 ลัดดาวัลย์ สีทอง.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.