Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69738
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Siripong Ladavalya Na Ayuthya-
dc.contributor.authorอัญญ์ลีญา บุญมากen_US
dc.date.accessioned2020-08-28T09:44:48Z-
dc.date.available2020-08-28T09:44:48Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69738-
dc.description.abstractThe objectives of this study is To study the weaknesses strengths treats and opportunity of Agriculture and Cooperatives Office in Mae Hong Son Province in The Implementation of the Watershed Conservation Project for Her Majesty the Queen’s Initiative in Mae Sa Nga River and Nam Khong River, Mae Hong Son Province. Analyze strategies for The Implementation of the Watershed Conservation Project for Her Majesty the Queen’s Initiative in Mae Sa Nga River and Nam Khong River, Mae Hong Son Province to achieve sustainable development The obtained data was collected by conducting in-depth and group conversation with 29 subjects From staff of The Implementation of the Watershed Conservation Project for Her Majesty the Queen’s Initiative in Mae Sa Nga River and Nam Khong River, Mae Hong Son Province, community leaders and farmers. The results showed that 1.) The weakness and strengths of Agriculture and Cooperatives Office in Mae Hong Son Province was personnel with high knowledge and experience, organization management with set clear roles, work procedures, resources get continuous operating budgets but lacking good vehicles and tools, and policy there is a master plan to guide the operation But with frequent changes of policy 2.) Opportunity and threat was political get administrators in the provinces give importance, social with the people in the target area have culture, way of life, beliefs and a little education, Economic the people in the area are relatively poor, livelihoods have limitations, And technology The people are less educated, difficult to access technology. Strategies for The Implementation of the Watershed Conservation Project for Her Majesty the Queen’s Initiative in Mae Sa Nga River and Nam Khong River, Mae Hong Son Province 1.) The development and management of resources to support the project mission to cover all aspects. 2.) Strengthening the capacity of leaders and farmers 3.) Infrastructure system improvement 4.) System development and methodology for applying knowledge technology on the development of safe agricultural products. 5.) Prevent hacking Enter the work of an alien in the area d 6.) Integration of cooperation from all sectors in professional development and systematic marketing promotion 7.) Establish clear legal measures and 8.) Review the project master plan. To change indicators To be linked to the results of the project achievement in each areaen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการดำเนินโครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดินในลุ่มน้ำแม่สะงาและลุ่มน้ำของจังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeThe Implementation of the Watershed Conservation Project for Her Majesty the Queen’s Initiative in Mae Sa Nga River and Nam Khong River, Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษา จุดอ่อน จุดแข็ง อุปสรรคความเสี่ยง โอกาส ของ สํานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในการดําเนินโครงการรักษ์น้ําเพื่อพระแม่ของ แผ่นดิน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในลุ่มน้ําแม่สะงา และลุ่มน้ําของและวิเคราะห์หากลยุทธ์ในการดําเนิน โครงการรักษ์น้ําเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน ในลุ่มน้ําแม่สะงา และลุ่มน้ํา ของสํานักงานเกษตรและ สหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อให้การพัฒนาบรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสนทนากลุ่ม จากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้นําชุมชน และตัวแทน เกษตรกร รวม 29 ราย ผลการศึกษาพบว่า จุดอ่อน จุดแข็ง อุปสรรคความเสี่ยง โอกาสของสํานักงานเกษตรและ สหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ด้านบุคลากร มีบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์สูง ด้าน โครงสร้าง และการบริหาร มีการกําหนด บทบาท ขั้นตอน การทํางานที่ชัดเจน ด้านทรัพยากร ได้รับงบประมาณ ดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง แต่ขาดยานพาหนะและเครื่องมือที่ดี และ ด้านนโยบาย มีแผนแม่บทเป็น แนวทางการดําเนินงาน แต่มีการปรับเปลี่ยนบ่อย โอกาส อุปสรรคที่ส่งผลต่อการดําเนินโครงการฯ ด้านการเมือง ผู้บริหารในจังหวัดให้ความสําคัญ ด้านสังคม คนในพื้นที่เป้าหมาย มี วัฒนธรรม วิถี ชีวิต ความเชื่อและการศึกษาน้อย ด้านเศรษฐกิจ ประชาชนในพื้นที่ค่อนข้างยากจน การทํามาหากิน ข้อจํากัด และ ด้านเทคโนโลยี ชาวบ้านมีการศึกษาน้อย เข้าถึงเทคโนโลยีได้ยาก กลยุทธ์ในการดําเนินโครงการรักษ์น้ําเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน ในลุ่มน้ําแม่สะงา ลุ่มน้ําของ จังหวัดแม่ฮ่องสอน 1.) การพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อสนับสนุนภารกิจ โครงการให้ครบคลุมทุกด้าน 2.) การพัฒนาศักยภาพของผู้นําและเกษตรกรให้มีความความเข้มแข็ง 3.) การปรับปรุง ระบบโครงสร้างพื้นฐาน 4.) การพัฒนาระบบและวิธีการนําเทคโนโลยีองค์ความรู้ด้านการพัฒนา สินค้าเกษตรปลอดภัย 5.) ป้องกันแก้ไขการลักลอบเข้าทํางานของคนต่างด้าว ในพื้นที่ 6.) การบูรณา การสร้างความร่วมมือหน่วยงานทุกภาคส่วนในการพัฒนาอาชีพและการส่งเสริมการตลาดอย่างเป็น ระบบ 7.) กําหนดมาตรการทางกฎหมายที่ชัดเจน และ 8.) ทบทวนแผนแม่บทโครงการฯ เพื่อ ปรับเปลี่ยนตัวชี้วัด ให้เชื่อมโยงกับผลการประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินโครงการในแต่ละพื้นที่en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932067 อัญญ์ลีญา บุญมาก.pdf7.47 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.