Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69727
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssociate Professor Dr. Kasara Sripichyakan-
dc.contributor.advisorAssistant Professor Dr. Rojanee Chintanawat-
dc.contributor.advisorAssistant Professor Dr. Totsaporn Khampolsiri-
dc.contributor.authorOnanong Nilphaten_US
dc.date.accessioned2020-08-26T02:03:47Z-
dc.date.available2020-08-26T02:03:47Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69727-
dc.description.abstractCurrently, Thai people are living longer lives than in previous generations. As such, it is worth learning from them how they maintain their health. This ethnographic study aimed to describe care practices of healthy older people in one rural community of Udon Thani province, located in northeastern Thailand. Through purposive sampling and snowball sampling techniques, 15 key informants (9 females) who were 70-87 years old and perceived themselves as being healthy and 11 general informants, including eight family members, two health volunteers, and one elderly club leader were recruited. Data were collected between December 2017 and July 2019. Information about informants’ activities and the cultural context of the community was collected through participant observation. Three focus group interviews were conducted among the key informants. The key informants and general informants participated in in-depth interviews. Thematic analysis was employed for data analysis. Trustworthiness was achieved through triangulation of data collection methods, member checking, and peer debriefing. Within the cultural context of the study of the prosperous community in Isan, care practices of the informants involved three themes: ‘healthiness of older people,’ ‘living in a natural way,’ and ‘living by one’s faith.’ Healthiness of older people was determined by 1) physical strength and self-reliance and 2) peaceful mind and happy life. Living in a natural way which is simple, sufficient, and conventional, without extravagance, constituted the care practices that this group of healthy older people used to achieve and maintain their healthiness. Their natural way of living included: eating local/natural Isan food, performing modest physical activities, living a peaceful life, and using natural/modern remedies. In addition, living by one’s faith, including nature, Buddhist doctrine, as well as ancestors’ spirits and community traditions, was a care practice contributing to healthiness. These findings reflect care practices of healthy older people living in one rural community of northeastern Thailand. Health professionals should be culturally sensitive in promoting health correspondently with a natural way of living and the faith practiced by the community.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleCare Practices Among Healthy Older People in Northeastern Thailanden_US
dc.title.alternativeการปฏิบัติดูแลของผู้สูงอายุสุขภาพดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันคนไทยมีอายุยืนยาวขึ้นกว่าคนรุ่นก่อน จึงมีคุณค่าอย่างยิ่งในการเรียนรู้ว่าผู้สูงอายุมีการ ดา รงสุขภาวะได้อย่างไร การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการปฏิบัติดูแล ของผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีในชุมชนชนบทแห่งหนึ่งของจังหวัดอุดรธานี ซึ่งอยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย จากการเลือกแบบเจาะจงร่วมกับการบอกต่อ มีผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก 15 คน (ผู้หญิง 9 คน) อายุ 70-87 ปี และรับรู้ว่าตนเองมีสุขภาพดี รวมทั้งผู้ให้ข้อมูลทั่วไป 11 คน ได้แก่ สมาชิก ในครอบครัว 8 คน อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน 2 คนและประธานชมรมผู้สูงอายุ 1 คน รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนธันวาคม 2560 ถึงเดือนกรกฎาคม 2562 ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมของผู้ให้ ข้อมูลและบริบทเชิงวัฒนธรรมของชุมชนถูกรวบรวมด้วยวิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม มีการสนทนา กลุ่ม 3 ครั้งในผู้ให้ข้อมูลหลัก รวมทั้งผู้ให้ข้อมูลหลักและผู้ให้ข้อมูลทั่วไปมีการให้สัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์แบบจัดประเด็นหลัก สร้างความเชื่อได้ของการวิจัยด้วยการเก็บ ข้อมูลหลายวิธี การตรวจสอบข้อมูลกับผู้ให้ข้อมูล และการทวนสอบกับผู้ทรงคุณวุฒิ ภายใต้บริบทเชิงวัฒนธรรมของอีสาน รวมทั้งธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ของชุมชนที่ศึกษา พบว่าการปฏิบัติดูแลของผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวข้องกับ 3 ประเด็น คือ การเป็นผู้สูงอายุสุขภาพดี การ ดา รงชีวิตด้วยธรรมชาติวิถี และการดา รงชีวิตด้วยความศรัทธาของบุคคล การเป็นผู้สูงอายุสุขภาพดี พิจารณาจาก 1) การมีเรี่ยวแรงและการพึ่งพาตนเอง และ 2) ความร่มเย็นเป็นสุข การดา รงชีวิตด้วย ธรรมชาติวิถีซึ่งเรียบง่าย พียงพอ และตามธรรมเนียมที่เคยปฏิบัติ โดยปราศจากความฟุ่มเฟือย เป็นการปฏิบัติดูแลของผู้สูงอายุสุขภาพดีเพื่อให้มีและคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพดี ธรรมชาติวิถีในการดารงชีวิตประกอบด้วย การรับประทานอาหารท้องถิ่นตามธรรมชาติแบบอีสาน การปฏิบัติกิจกรรมทางกายพอประมาณ การดารงชีวิตแบบสงบสุข ตลอดจนการบาบัดรักษาแบบธรรมชาติและแบบสมัยใหม่ นอกจากนั้น การดารงชีวิตด้วยความศรัทธาของบุคคลในธรรมชาติ หลักการของพุทธศาสนา ตลอดจนจิตวิญญาณของบรรพบุรุษและประเพณีของชุมชน เป็นการปฏิบัติดูแลที่ช่วยให้มีภาวะสุขภาพดี ผลการศึกษาสะท้อนถึงการปฏิบัติดูแลของผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีซึ่งดารงชีวิตอยู่ในชุมชนชนบทแห่งหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บุคลากรทางสุขภาพควรมีความไวเชิงวัฒนธรรมในการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุกลุ่มนี้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติวิถีของการดารงชีวิตและความศรัทธาen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
571251010 อรอนงค์ นิลพัฒน์.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.