Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69713
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorประกาศิต เอี่ยมสะอาดen_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:52:28Z-
dc.date.available2020-08-21T00:52:28Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69713-
dc.description.abstractThe study on the Development of Participation Consciousness for Formulating the Local Development Plan of Nasak Sub-district Administrative Organization, Mae Moh District, Lampang Province aims to 1) survey the participating consciousness level of people on formulating the local development plan in Nasak Sub-district Administrative Organization, Mae Moh District, Lampang Province, 2) study the participation level on formulating the local development plan in Nasak Subdistrict Administrative Organization, Mae Moh District, Lampang Province, 3) investigate the factors causing people to participate the formulation of the local development plan in Nasak Subdistrict Administrative Organization, Mae Moh District, Lampang Province, and 4) analyze and find the way to build or develop the participating consciousness which leads to the decision to participate in the formulation of the local development plan of Nasak Sub-district Administrative Organization, Mae Moh District, Lampang Province. This research is designed to be quantitative and qualitative research. There are two sample groups: 1) The group of 335 people living in nine villages in Nasak Sub-district Administrative Organization, Mae Moh District, Lampang Province, and 2) The group of 23 government officials concerning the formulation of the local development plan of Nasak Sub-district Administrative Organization, Mae Moh District, Lampang Province. The study found that 1) The overall level of participating consciousness on formulating the local development plan was rather high with an average of 3.73 considering the consciousness indicators - awareness, recognition, attitude, and behaviors. It was found that the awareness on participation level was rather high with an average of 3.95, followed by a rather high level of recognition with an average of 3.86, and the attitude on participating the formulation of the local development plan was quite good with an average of 3.51; however, the behaviors of participation was fairly good with an average of 3.41, 2) The sample groups had the moderate level of the participation on the formulation of the local development plan of Nasak Sub-district Administrative Organization, Mae Moh District, Lampang Province where the participation was included thinking, deciding, and planning. Furthermore, it was moderate level in benefitting, rating, and examining the local development plan with an average of 2.99, followed by 2.83, and 3.25), but they were fairly followed the plan (an average of 2.48), 3) The factors caused the participation of people showed that personal factors which were the living duration in the villages, leadership/management, and supporting factors affected the participation on the local development plan, 4) The process to build or develop a participating consciousness should start from the community leader who has to coordinate, publicize the information and news, build trust, and establish mainstay and volunteer to provide the knowledge about community building before publicizing to the community.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาจิตสำนึกการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeDevelopmentof Participation Consciousness for Formulating the Local Development Plan of Nasak Sub-district Administrative Organization, Mae Moh District, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษา เรื่อง การพัฒนาจิตสํานึกการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนา ท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตําบลนาสัก อําเภอแม่เมาะ จังหวัดลําปาง มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) สํารวจระดับจิตสํานึกการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การ บริหารส่วนตําบลนาสัก อําเภอแม่เมาะ จังหวัดลําปาง 2) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ใน การจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตําบลนาสัก อําเภอแม่เมาะ จังหวัดลําปาง 3) ศึกษาปัจจัยที่ทําให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การ บริหารส่วนตําบลนาสัก อําเภอแม่เมาะ จังหวัดลําปาง 4) วิเคราะห์หาแนวทางการสร้างหรือพัฒนา จิตสํานึกการมีส่วนร่วมเพื่อนําไปสู่การตัดสินใจเข้าไปมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทํา แผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตําบลนาสัก อําเภอแม่เมาะ จังหวัดลําปาง ๆ งานวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ผสมผสานกับการวิจัยเชิง คุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้มีจํานวน 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่ม ประชาชนในพื้นที่ตําบลนาสัก อําเภอแม่เมาะ จังหวัดลําปาง จํานวนทั้งสิ้น 9 หมู่บ้าน จํานวน 335 คน 2) กลุ่มเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วน ตําบลนาสัก อําเภอแม่เมาะ จังหวัดลําปาง จํานวน 23 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีจิตสํานึกการมีส่วนร่วมในการจัดทํา แผนพัฒนาท้องถิ่นในระดับค่อนข้างมาก (ค่าเฉลี่ย 3.73) เมื่อพิจารณาถึงตัวชี้วัดจิตสํานึก ที่ ประกอบด้วย ความตระหนัก การรับรู้ ทัศนคติ และ พฤติกรรมการปฏิบัติ พบว่า มีความตระหนัก การมีส่วนร่วมค่อนข้างมาก (ค่าเฉลี่ย 3.95) มีการรับรู้ ค่อนข้างมาก (ค่าเฉลี่ย 3.86) และ มีทัศนคติ ต่อ การมีส่วนร่วมจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นค่อนข้างดี (ค่าเฉลี่ย 3.51) แต่มี พฤติกรรมการมีส่วนร่วมจัดทํา แผนพัฒนาท้องถิ่น ไม่ค่อยดี (ค่าเฉลี่ย 3.41) 2) การมีส่วนร่วมในการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นของ องค์การบริหารส่วนตําบลนาสัก อําเภอแม่เมาะ จังหวัดลําปาง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีในระดับปานกลาง โดยมีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจ และร่วมวางแผน ร่วมรับประโยชน์ และ ร่วมในการประเมินและ ตรวจสอบแผนพัฒนาท้องถิ่น ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 2.99 , ค่าเฉลี่ย 2,83, ค่าเฉลี่ย 3.25) แต่ มี ส่วนร่วมน้อย ในการปฏิบัติตามแผน (ค่าเฉลี่ย 2,48) 3) ปัจจัยที่ทําให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ ระยะเวลาการอยู่อาศัยในชุมชน ปัจจัยด้านภาวะผู้นําและการบริหาร จัดการ ปัจจัยสนับสนุน มีผลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น 4) แนวทางการสร้าง หรือพัฒนาจิตสํานึกการมีส่วนร่วม ควร เริ่มจาก ผู้นําชุมชน ต้องทําหน้าที่ประสานงาน นําความรู้ ข่าวสารต่าง ๆ มาเผยแพร่ สร้างความเชื่อใจ ไว้วางใจ จัดตั้งกลุ่มแกนนํา และจิตอาสาเพื่อให้มีความรู้ เกี่ยวกับการทําประชาคม ก่อนเผยแพร่ให้กับประชาชนในชุมชนทราบต่อไปen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932058 ประกาศิต เอี่ยมสอาด.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.