Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69712
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorประยงค์ เข่งค้าen_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:52:23Z-
dc.date.available2020-08-21T00:52:23Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69712-
dc.description.abstractThe purposes of this research were: 1) to survey the situation and condition of employment problems and a labor shortage problem of entrepreneurs in the construction industry in Mueang, Chiang Mai. This survey included the opinions on the mitigation of labor shortage from the labor shortage solutions of government sectors. 2) to analyze suitability and obstacle in abiding by measures of migrant workers shortage solutions. 3) to propose a management guideline for migrant workers' work in the construction industry to the government sector. The purpose of this proposal was to allow entrepreneurs in the construction industry to import, migrate, and employ labors legally. This research employed a quantitative research methodology to collect information from 321 people consisting of the ordinary and juristic entrepreneurs running construction businesses in Mueang, Chiang Mai. Besides, qualitative research methodology was also utilized by interviewing 15 entrepreneurs. The findings indicated that: 1) in the situation of migrant workers employment, entrepreneurs of the construction industry in Mueang, Chiang Mai, by 38.63% all legally hired migrant workers more than 20 people with the reason that they could not find Thai workers. There were wages and welfare for those workers as the same as Thai workers by 75.70%. For the condition of labor shortage, there were occasional problems with 99.06%. Regarding the type of labor shortage, there were skilled labor and semi-skilled labor. In addition, there was the impact from labor shortage which was a higher labor cost where entrepreneurs had to hire labors in a higher price in order to take them from other places. There were the problems with communication, honesty, and work migration without informing about labor inspection from a government official as well. 2) measures of migrant workers' employment solutions by the government sector were inappropriate and problematic (x = 2.30). Namely, legal measures (x = 2.22) where the nationality verification process of Myanmar labors had the practical problems on the documentation process as imported labors under the MOU agreement (1 person or more). Concerning migrant workers management, it was generally inappropriate and problematic (x = 1.79), especially transparency in labor inspection (x = 2.44), law enforcement (x = 1.45), and inspection of illegal migrant workers by the official (x = 1.44). Furthermore, there were more improprieties and problems as follows: the labor import under the MOU agreement, employer changing, and job determination that the only allowed job to work was labor (x = 1.47). As for the MOU expenses in the country, it was considered appropriate. 3) the policy and law measures that entrepreneurs substantially expected and wanted to be enforced as the solutions of migrant workers problems are the process reduction in migrant workers import, the facilitation of the request for hiring migrant workers without the agent (x = 3.63), and the improvement in the nationality verification process that was slow, complex, and beneficial to the agent. There should be fewer documents, and facilitators in every process to expedite the process. Apart from those things, there should be an appointment for entrepreneurs in order to reduce time and unnecessary processes, and there should be able to register through the online system, etc.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการขาดแคลนแรงงานและปัญหาการจ้างแรงงานต่างด้าว อย่างถูกกฎหมายของผู้ประกอบการกิจการอุตสาหกรรม ก่อสร้างในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Labour Shortage and Employment of Legally Migrant Workers Problems in the Industrial Construction Sector in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)สํารวจ สถานการณ์ และ สภาพปัญหาการจ้างงานและการ ขาดแคลนแรงงาน ของผู้ประกอบการกิจการอุตสาหกรรมก่อสร้างในเขตอําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ และ ความคิดเห็น เกี่ยวกับผลการบรรเทาปัญหาการขาดแคลนแรงงาน จากมาตรการการแก้ไขปัญหา การขาดแคลนแรงงานต่างด้าวของภาครัฐ 2) วิเคราะห์ ความเหมาะสม และ ปัญหาอุปสรรค ของการ ปฏิบัติตามมาตรการการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานต่างด้าว และ 3)เพื่อนําเสนอแนวทางการ บริหารจัดการการทํางานแรงงาน ต่างด้าวอุตสาหกรรมก่อสร้าง ต่อภาครัฐ เพื่อให้ผู้ประกอบการกิจการอุตสาหกรรมก่อสร้าง สามารถนําเข้าแรงงาน และเคลื่อนย้ายแรงงาน และ จ้างแรงงานได้ถูกกฎหมาย การวิจัยนี้ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research Methodology) เก็บข้อมูลจาก ผู้ประกอบการเป็นบุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล ที่ประกอบกิจการธุรกิจก่อสร้างในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 321 คน ผสมผสานกับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research Methodology) ด้วยการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ 15 คน ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ / G C 1) สถานการณ์การจ้างแรงงานต่างด้าว พบว่า ผู้ประกอบการกิจการอุตสาหกรรมก่อสร้างเขต อําเภอเมืองเชียงใหม่ ร้อยละ 38.63 มีการจ้างแรงงานต่างด้าวมากกว่า 20 คนขึ้นไป อย่างถูกกฎหมาย ทั้งหมด สาเหตุเพราะไม่สามารถหาคนไทยทํางานได้ และ ร้อยละ 75.70 มีการจ่ายค่าจ้างและจัด สวัสดิการให้เหมือนแรงงานไทย ภาวะการขาดแคลนแรงงาน ร้อยละ 99.06 มีปัญหาบ้างในบางครั้ง เท่านั้น ประเภทแรงงานที่ขาดแคลน ระดับคนงาน ช่างปฏิบัติการหรือช่างฝีมือ (Skilled Labor) ช่าง ถึงฝีมือ (Semi-Skilled Labor) ในส่วน ผลกระทบที่ได้รับจากปัญหาการขาดแคลนแรงงานคือ ทําให้ ต้นทุนแรงงานสูงขึ้น เพราะต้องจ้างแรงงานในราคาสูงเพื่อแย่งชิงแรงงานมาจากที่อื่นและ ร้อยละ 53.58 มีปัญหาเรื่องการสื่อสาร ความซื่อสัตย์ และโยกย้ายงานโดยไม่บอกกล่าว การถูกตรวจแรงงาน จากเจ้าหน้าที่ 2) มาตรการ การแก้ไขปัญหาการจ้างแรงงานต่างด้าวที่รัฐกําหนดไว้ ไม่ค่อยเหมาะสมเป็น ปัญหา (x = 2.30) ได้แก่ มาตรการทางกฎหมาย (x = 2.22) ขั้นตอนการพิสูจน์สัญชาติแรงงานเมียนมา มีปัญหาในทางปฏิบัติ ขั้นตอนการจัดทําเอกสารเป็นแรงานนําเข้าตามข้อตกลง MOU(ตั้งแต่ 2 คนขึ้น ไป ) สําหรับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวพบว่า โดยรวมไม่ค่อยเหมาะสมและเป็นปัญหา (x = 1.79) โดยเฉพาะ ความสุจริตโปร่งใสในการตรวจแรงงาน (x = 2.44) การบังคับใช้กฎหมาย (X = 1,45) และ การตรวจจับลงโทษแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายของเจ้าหน้าที่ (x = 1.44) ที่ ไม่เหมาะสมและเป็น ปัญหาอย่างมาก คือการนําเข้าตาม MOU การเปลี่ยนนายจ้าง และ การกําหนดประเภทของงานที่ อนุญาตให้ทําได้คืองานกรรมกรเท่านั้น (X = 1.47) ส่วนค่าใช้จ่ายในการทํา MOU ในประเทศมี ความเห็นว่ามีความเหมาะสมแล้ว 3) มาตรการทางด้านนโยบายและกฎหมาย ที่ผู้ประกอบการคาดหวังและต้องการให้นํามาใช้ ในการจัดการแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว อย่างมาก คือ การลดขั้นตอนในการนําเข้าแรงงานข้ามชาติ และอํานวยความสะดวก ในการขอใช้แรงงานต่างชาติ โดยไม่ต้องผ่านระบบนายหน้า (X = 3.63) และ การปรับปรุงกระบวนการพิสูจน์สัญชาติที่มีความล่าช้า ซับซ้อน และเอื้อต่อการหาประโยชน์ของกลุ่ม นายหน้า ควรลดจํานวนเอกสาร จัดเจ้าหน้าที่อํานวยความสะดวก ในทุกขั้นตอน เพื่อความรวดเร็ว มี การนัดหมายผู้ประกอบการแต่ละรายเพื่อความรวดเร็ว ลดระยะเวลาและขั้นตอน ที่ไม่จําเป็น และ ให้ สามารถลงทะเบียนผ่านระบบออนไลด์ได้ เป็นต้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932059 ประยงค์ เข่งค้า.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.