Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69711
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorเกษริน กันทะอินทร์en_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:52:18Z-
dc.date.available2020-08-21T00:52:18Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69711-
dc.description.abstractThe research of Government Agencies and Non-government Organisations Collaboration in Welfare Protection Center for Victims of Trafficking in Persons (TIP) has the objectives : 1) To study the collaboration among a government agencies and related non-government organizations (NGOs) in working for the protection of the beneficiaries (victims) from The Welfare Protection Center for Victims of Trafficking in Persons (TIP); 2) To study the challenges of such collaboration in order to identify recommendation for the development of appropriate collabpration in working for the protection of the beneficiaries (victims) from The Welfare Protection Center for Victims of Trafficking in Persons (TIP). This research employed the qualitative method whereas the researchtools included semi-structured interview, participatory & non-participatory observations, as well as reviews of related literatures. The research’s 9 key informants were sampled, using purposive sampling method, among directors and staffs from different shelters under the administration of The Welfare Protection Center for Victims of Trafficking in Persons (TIP), as well as NGO workers from related NGOs working with these shelters. Results of this study indicates the following factors of cooperation: 1) The common goal and aim set by both parties, government agencies and non-government organizations, involved is in the best interests of the beneficiary (victim); 2) Innovative and multiplex problem-solving developed; 3) Trust (among government agencies and non-government organizations) built from working duration, which shows a positive growth in relationship; 4) Authority, decision making, vision and perspective of administrative officers play an important role in cooperation; 5) Development potential in cooperation and reciprocation between government agencies and nongovernment organizations identified; 6) Two methods of communication including official and unofficial developed whereas unofficial communication usually results in more flexibility and interaction; 7) Cooperative monitoring and evaluation developed which were mostly organized as debriefing meetings, though there is no observance in overall takeaways. Furthermore, there were positive changes that occurred within government agencies, which include: 1) Using recommendations from NGOs to modify the organization’s services towards beneficiaries (victims); 2) Instilling a positive attitude amongst government officials towards beneficiaries (victims); 3) Instilling new knowledge and vision amongst government officials; 4) Implementing more flexibility in operations through mutual understanding, and adapting plans to increase effectivity. Challenges that were faced include: 1) Lack of continuity in cooperation, resulting in NGOs working based on project agreement and funding while frequent staff turn-over within government agencies and The Welfare Protection Center for Victims of Trafficking in Persons (TIP); 2) Government officials do not have a clear code of conduct for working with NGOs, resulting in ambiguity within decision-making, often resting on the final decision from government administrators; 3) Lack of NOGs’ involvement in reviewing overall takeaways or lesson learnt of The Welfare Protection Center for Victims of Trafficking in Persons (TIP); 4) Lack of a central networking database, which could be utilized to analyze and follow cooperation between and government officials and NGO workers in servicing beneficiaries (victims); 5) NGOs were not involved in authority and decision-making powers over policy implementation, which is only reserved to government officials. The solutions towards these challenges include: 1) Implementing a mutual understanding, common goal, and organized responsibility between government agencies and NGOs; 2) Implementing long-term mutual share of resources. 3) Allowing NGOs to be more involved in government policy making. 4) Organizing review meetings to observe overall takeaways or lesson learnt from working among The Welfare Protection Center for Victims of Trafficking in Persons (TIP), Anti-Human Trafficking of Thailand and NGOs; 5) Organizing unofficial (informal) cooperative events that promote equity.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectCollaborationen_US
dc.subjectGovernmenten_US
dc.subjectNGOsen_US
dc.subjectTraffickingen_US
dc.subjectWelfare Protection centeren_US
dc.subjectsheltersen_US
dc.titleความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐและองค์กรพัฒนาเอกชน ในสถานคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์en_US
dc.title.alternativeGovernment Agencies and Non-Government Oranisations (NGOs) Collaboration in Welfare Protection Center for Victims of Trafficking in Persons(TIP)en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง ความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานรัฐและองค์กรพัฒนาเอกชน ในสถานคุ้มครอง สวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ องค์กรพัฒนาเอกชน ในกระบวนการทํางานคุ้มครองผู้เสียหายในสถานคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหาย จากการค้ามนุษย์ 2)เพื่อศึกษาข้อท้าทาย ในการดําเนินงานร่วมกันระหว่างภาครัฐและองค์กรพัฒนา เอกชนสู่ข้อเสนอแนะการพัฒนาความร่วมมือในกระบวนการคุ้มครองผู้เสียหายในสถานคุ้มครอง สวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ โดยเป็นวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้บริหาร สถานคุ้มครองฯ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในสถานคุ้มครองฯ เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชนที่ดําเนินงาน ร่วมกันในการทํางานคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ในสถานคุ้มครองฯ โดยใช้การ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จํานวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือการสัมภาษณ์ แบบกึ่งโครงสร้าง การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง กัน ผลการศึกษาพบว่ากลไกความร่วมมือ ได้แก่ 1)แรงจูงใจการพึ่งพาซึ่งกันและผลลัพธ์ที่คาดหวัง ระหว่างกันในการมองเป้าหมายคือผู้รับบริการได้รับประโยชน์สูงสุด 2)นวัตกรรมการแก้ไขปัญหา ร่วมกัน มีประเด็นการแก้ไขปัญหาหลายด้าน 3) ความไว้วางใจเกิดขึ้นจากระยะเวลาการทํางาน การ เห็นผลงานเชิงบวกและเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น 4) อํานาจ การตัดสินใจ วิสัยทัศน์และทัศนะคติของ ผู้บริหารมีส่วนสําคัญอย่างยิ่งในความร่วมมือการทํางานระหว่างกัน 5)ศักยภาพความร่วมมือและการ แบ่งปันทรัพยากรระหว่างกัน 6)การประสานงานสองทาง ได้แก่การประสานงานทั้งแบบเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ โดยการสื่อสารแบบไม่เป็นทางการทําให้เกิดความยืดหยุ่นและมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันมากขึ้น 7)การติดตามผล การประเมินผลการทํางานร่วมกัน โดยเป็นลักษณะการประชุมสรุปงาน แต่ ยังไม่มีเวทีถอดบทเรียนในภาพรวม นอกจากนั้นการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกที่เกิดขึ้นกับหน่วยงานราชการคือ 1)การนําข้อเสนอแนะ จากเอ็นจีโอปรับระบบบริการแก่ผู้เสียหาย 2)ทัศนคติเชิงบวกของเจ้าหน้าที่สถานคุ้มครองฯกับ ผู้เสียหายมีมากขึ้น 3)เจ้าหน้าที่สถานคุ้มครองฯมีวิสัยทัศน์ องค์ความรู้ใหม่ และ 4)เกิดการทํางานที่ ยืดหยุ่นมากขึ้นที่จากการเรียนรู้การทํางานร่วมกันทําให้เกิดการทํางานมีความยืดหยุ่น มีการ ปรับเปลี่ยนแผนการทํางานให้มีความเหมาะสมและข้อท้าทายที่พบของความร่วมมือระหว่างกันคือ 1) ขาดความต่อเนื่องการดําเนินงานร่วมกัน เกิดจากเอ็นจีโอจะทํางานที่ขึ้นอยู่กับโครงการและแหล่งทุน และภาครัฐคือส่วนกลางและสถานคุ้มครองฯมีการการโยกย้ายของผู้บริหารและการลาออกของ เจ้าหน้าที่สถานคุ้มครองฯ 2) ภาครัฐยังไม่มีระเบียบหรือหลักการทํางานกับองค์กรพัฒนาเอกชนที่ ชัดเจนจึงทําให้อํานาจการตัดสินใจอยู่ที่ผู้บริหารของหน่วยงานที่มีความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบใน การดําเนินงานร่วมกับองค์กรพัฒนาเอกชน 3) ขาดการถอดบทเรียนในภาพรวมของสถานคุ้มครองฯ โดยการมีส่วนร่วมของเอ็นจีโอ 4)ขาดฐานข้อมูลภาคีเครือข่ายจากส่วนกลาง เพื่อที่จะสามารถใช้ ประโยชน์จากฐานข้อมูลกลางในการติดตามการทํางานระหว่างภาครัฐและเอ็นจีโอในการทํางาน คุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 5)เอ็นจีโอยังไม่มีอํานาจร่วมตัดสินใจเชิงนโยบายจึงทําให้อํานาจ ตัดสินใจอยู่กับระบบราชการ แนวทางลดข้อท้าทายพบว่า 1)ควรสร้างความเข้าใจการทํางาน เป้าหมาย งานร่วมกันให้เพิ่มมากขึ้น และการจัดทําระเบียบความร่วมมือระหว่างภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชน ในงานค้ามนุษย์อย่างเป็นรูปธรรม 2)เพิ่มการแบ่งปันทรัพยากรระหว่างกัน ในระยะยาว 3)ให้เอ็นจีโอ มีส่วนร่วมการตัดสินใจเชิงนโยบายรัฐมากยิ่งขึ้น 4) การจัดเวทีถอดบทเรียนการทํางานระหว่างสถาน คุ้มครองฯ กองต่อต้านการค้ามนุษย์และเอ็นจีโอ 5)การจัดเวทีหารือการทํางานร่วมกันอย่างไม่เป็น ทางการแต่มีความสม่ําเสมอen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932051 เกษริน กันทะอินทร์.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.