Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69708
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorสุภัทรชัย จูมทองen_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:52:02Z-
dc.date.available2020-08-21T00:52:02Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69708-
dc.description.abstractWater is regarded as one of the primary sources of life. Thailand is developing various plans, policies and strategies to manage and supply water to meet the demands of the denizens. Lamphun Province located in Northern Part of Thailand, which lack to feed the demand of water supply throughout the year need to have reservoir established to meet the demand of dry season by storing water during the raining season. Huai Pah Kuai reservoir which is located Takien Pom subdistrict, Thung Hua Chang district, Lamphun province is the area of study in this project to organize water resource for sustainable development. As a result of study. Firstly, shows that the trend of technology and innovation for sustainable development is the same information. Furthermore, we might use new technology and technology from other countries to manage the water resource. The result of study shows that, technology to manage the reservoir from Israel was found to be most useful. Secondly, the conclusion is consistent with the survey result conducted with the interviewees working in this field of work. Thus, to take into account of development of new technologies and working under digital platform, the Royal Irrigation Department will make a long- term preparation strategy for integration and sustainable management in the future. So, skilled manpower can be developed transferring proper skill and knowledge to the people in the working area. Last, stakeholder participation in the study area found that people have been involved with the project from the beginning to the present. They have good satisfaction in terms of equality, justice and water management of irrigation officials and encourage communities to participate in water management and maintenance within the reservoir. The government also listen to and accept the community’s opinion. Moreover, they organize a public forum to share the opinion with stakeholder. This study supports the smart irrigation system for sustainable water management.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleชลประทานอัจฉริยะเพื่อการจัดการน้ำอย่างยั่งยืนen_US
dc.title.alternativeSmart Irrigation for Sustainable Water Managementen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractน้ำซึ่งเป็นทรัพยากรพื้นฐาน ที่มีความสําคัญต่อการดําเนินชีวิตของสิ่งมีชีวิต แผนการจัดการ ทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการระดับชาติของประเทศไทยยังขาดแคลนในบางบริเวณ จังหวัดลําพูน เป็น หนึ่งในจังหวัดภาคเหนือตอนบน ประสบปัญหาขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง น้ำหลากในฤดูฝน จึงมีความ จําเป็นต้องได้รับการพัฒนา โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยป่ากล้วย ต.ตะเคียนปม อ.ทุ่งหัวช้าง จ.ลําพูน เป็น พื้นที่ในความสนใจ เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบชลประทานอัจฉริยะเพื่อการบริหารจัดการน้ํา อย่างยั่งยืน ผลการศึกษาพบว่าแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการบริหารจัดการน้ํา ในเขต พื้นที่ศึกษามีมุมมองที่สอดคล้องกันของผู้ให้ข้อมูล กล่าวคือแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อปรับใช้เพื่อการบริหารจัดการน้ําอย่างยั่งยืน และผลการศึกษาศึกษา เทคโนโลยีและนวัตกรรมจากต่างประเทศเพื่อมาประยุกต์ใช้กับพื้นที่ เพื่อการบริหารจัดการน้ําอย่างยั่งยืนคือ เทคโนโลยีจากอิสราเอล สามารถนํามาใช้ในพื้นที่ที่ศึกษาได้ดีที่สุด แนวทางการบริหารจัดการ มีความ คิดเห็นสอดคล้องกันเช่นกันคือ ในอนาคตจะต้องมีการจัดการแผนเตรียมความพร้อมในระยะยาวไว้ปรับ แผนการทํางาน เพื่อปฏิบัติงานบนฐานดิจิทัลที่จะสนับสนุนการทํางาน ให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็วมากขึ้น ประกอบกับพัฒนาเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน โดยจะต้องปฏิบัติงานด้วยความเปิดกว้างและเชื่อมโยงกันมีขีด สมรรถนะสูงและทันสมัย และยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง สุดท้ายทัศนคติของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ใน เขตพื้นที่ศึกษา จากการสัมภาษณ์ พบว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขอมรับมีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการตั้งแต่ เริ่มต้น โครงการถึงปัจจุบัน มีความพึงพอใจที่ดีทั้งทางด้านความเสมอภาค ความยุติธรรม และการ บริหารจัดการน้ําของเจ้าหน้าที่ชลประทาน อีกทั้งการสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมกับการบริหารจัดการน้ำ การดูแลรักษา ภายในอ่างเก็บน้ำ และรัฐได้มีการรับฟังความคิดเห็น ของชุมชนเป็นอย่างดี ภาครัฐได้มีการจัดเวทีประชาคมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า ชลประทานอัจฉริยะเพื่อการจัดการน้ำอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาโครงการอ่างเก็บน้ำห้วยป่ากล้วย ต.ตะเคียนปม อ.ทุ่งหัวช้าง จ.ลำพูน จะสำเร็จลุล่วงได้จะต้องมี การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี การบริหารจัดการที่ดี ทัศนคติที่ดีสอดคล้องกัน และการมีส่วนร่วม มีส่วนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อนำพาไปสู่ชลประทานอัจฉริยะเพื่อการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนได้en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932020 สุภัทรชัย จูมทอง.pdf3.19 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.