Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69706
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พจนา พิชิตปัจจา | - |
dc.contributor.author | สุรพันธ์ กอนแก้ว | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-21T00:51:51Z | - |
dc.date.available | 2020-08-21T00:51:51Z | - |
dc.date.issued | 2020-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69706 | - |
dc.description.abstract | This research aims 1) to study a network collaborative management of community market: a case study of Jing Jai Farmers Market Chiangmai 2) to study factors affecting the success of network collaborative management of community market: a case study of Jing Jai Farmers Market, Chiang Mai, and 3) to investigate problems and obstacles as well as propose the solutions enhancing the collaboration and success of the Jing Jai Farmers Market, Chiang Mai. The in-depth interview with twenty members from Jing Jai Farmers Market’s network including the market owner, government and private sectors, agriculturalists, and entrepreneurs, was done in this qualitative research. The results show that Jing Jai Farmers Market networking is successful due to (1) a consistent perspective and shared vision to build up networking cooperation with all sectors and manage the market together. Moreover, the first result led to (2) the participation of all members in the network that support and help each other. Next, (3) they also empower, (4) rely on and interact with each other that lead to the successful network collaborative management. The factors affecting the success of network collaborative management of community market: a case study of Jing Jai Farmers Market, Chiang Mai are (1) the participation and cooperation of the members in the network, (2) the valued culture representing various uniqueness and (3) the different selling concepts. Moreover, in order to solve the collaborative problem and success management, Jing Jai Farmers Market, Chiang Mai used (1) the internal management to solve the selling spaces problem since the products are specific. Also, (2) the external management was used to solve and manage the network collaborative problem between the entrepreneurs and theinvolved parties. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การจัดการเครือข่ายกับความร่วมมือของตลาดชุมชน:กรณีศึกษา จริงใจ ฟาร์เมอร์ มาร์เก็ต เชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Network Collaborative Management of Community Market: A Case Study of Jing Jai Farmers Market Chiangmai | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการจัดการเครือข่ายความร่วมมือในการดําเนินการ ของตลาดชุมชน กรณีศึกษา จริงใจ ฟาร์มเมอร์ มาร์เก็ต เชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยความสําเร็จของ การจัดการเครือข่ายความร่วมมือ ของตลาดชุมชน กรณีศึกษา จริงใจ ฟาร์มเมอร์ มาร์เก็ต เชียงใหม่ และ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินการและแนวทางแก้ไขปัญหาความร่วมมือและ จัดการความสําเร็จของตลาดชุมชน จริงใจ ฟาร์มเมอร์ มาร์เก็ต เชียงใหม่ งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงคุณภาพเป็นเครื่องมือในการศึกษาและใช้เทคนิคการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากสมาชิกเครือข่ายที่ มีส่วนเกี่ยวข้องกับจริงใจ ฟาร์มเมอร์ มาร์เก็ต เชียงใหม่ ได้แก่ เจ้าของตลาด หน่วยงานราชการ ภาคเอกชน กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มผู้ประกอบการ รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 20 คน จากการศึกษาพบว่า ความสําเร็จของเครือข่าย ตลาดชุมชน จริงใจ ฟาร์มเมอร์ มาร์เก็ต เชียงใหม่ เป็นผลมาจาก (1) มีการรับรู้มุมมองที่เหมือนกัน ที่สามารถมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน เกิดการ มีวิสัยทัศน์ร่วมกันที่จะร่วมกันในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการบริหาร จัดการตลาด จึงนําไปสู่ (2) การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในเครือข่ายที่แสดงถึงความเกื้อกูล พึ่งพา ซึ่งกันและกันส่งผลให้เกิด (3) มีการเสริมสร้างซึ่งกันและกัน ตลอดจน (4) มีการเกื้อหนุนพึ่งพากัน และ (5) มีปฏิสัมพันธ์กันในเชิงแลกเปลี่ยนที่ส่งเสริมให้การสร้างเครือข่ายความร่วมมือประสบ ผลสําเร็จ ปัจจัยความสําเร็จของการจัดการเครือข่าย ของตลาดชุมชน จริงใจ ฟาร์มเมอร์ มาร์เก็ต เชียงใหม่ได้แก่ (1) การมีส่วนร่วมและความร่วมมือของเครือข่าย (2) การสร้างคุณค่าทางวัฒนธรรมที่ สื่อถึงความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะในด้านต่าง ๆ และ (3) การสร้างจุดขายที่แตกต่าง สําหรับในส่วนของปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการ แนวทางแก้ไขปัญหาความร่วมมือและจดัการความสำเร็จของ ตลาดชุมชน จริงใจ ฟาร์มเมอร์มาร์เก็ต เชียงใหม่ได้แก่ (1) การจัดการภายใน เป็นการจัดการ เกี่ยวกับ สถานที่จำหน่ายสินค้า ซึ่งเป็นปัญหาที่ทำให้การดำเนินการในการจัดสรรพื้นที่เกิดความไม่ เหมาะสมสำหรับสินค้าบางประเภทเนื่องจากเป็นตลาดสินค้าที่จำหน่ายเฉพาะด้าน และ (2) การ จัดการภายนอกเป็นการบริหารจัดการเกี่ยวกับผู้ประกอบการ หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็น ปัญหาที่ทำให้การสร้างการมีส่วนร่วมด้านความร่วมมือของผู้ประกอบการที่ให้ความร่วมมืออย่างไม่ เต็มที่ | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611932021 สุรพันธ์ กอนแก้ว.pdf | 3.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.