Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69705
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจนา พิชิตปัจจา-
dc.contributor.authorธัญวรัชญ์ เชี่ยวเจริญโชติen_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:51:47Z-
dc.date.available2020-08-21T00:51:47Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69705-
dc.description.abstractThis qualitative research aims to study the guideline in facilitating the elderly learning and to understand the development for cooperative elderly learning space of Khuang Pao Sub-district Administrative Organization. The result indicated that the individual learning space has passed on the particular value due to the distinctive awareness towards learning value and importance of the elders of each community. The operation support of the executives, local administrative organization, and associate network, who are the main financial advocates, directly focuses on elderly learning space which fails in pursuing the performance achievement of other learning spaces. Therefore, goals, integrated cooperation of all sectors, and the greater involvement of elders in learning management should be set in order to truly answer the needs of the learners. It will, consequently, establish the strong, sustainable, and successful learning spaces where the socially expected public value can be passed along.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุแบบจัดการร่วมขององค์การบริหารส่วน ตำบลข่วงเปา อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Development for Cooperative Elderly Learning Space of Khuang Pao Sub-district Administrative Organization, Chom Thong District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวทางในการส่งเสริมการเรียนรู้ของ สูงอายุและศึกษาถึงแนวทางในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้สําหรับผู้สูงอายุแบบจัดการร่วมขององค์การ บริหารส่วนตําบลข่วงเปา ผลการศึกษาพบว่า แหล่งเรียนรู้แต่ละแห่งมีการส่งต่อคุณค่าที่ต่างกัน เนื่องจากผู้สูงอายุแต่ละ ชุมชนตระหนักถึงคุณค่าและความสําคัญของการเรียนรู้ต่างกัน การให้ความสําคัญในการเข้าไป ผลักดันการดําเนินงานของฝ่ายบริหาร อปท. และภาคีเครือข่ายที่เป็นผู้สนับสนุนงบประมาณหลัก มุ่งเน้นไปที่แหล่งเรียนรู้ที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุโดยตรง ทําให้ผลการดําเนินงานในแหล่งเรียนรู้อื่นไม่ประสบความสําเร็จ จึงควรกําหนดเป้าหมาย พร้อมทั้งบูรณาการทํางานร่วมกันทุกภาคส่วนและให้ผู้สูงอายุได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการการ เรียนรู้มากขึ้น เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนอย่างแท้จริง อันจักส่งผลให้การดําเนินงาน ของแหล่งเรียนรู้เป็นไปอย่างเข้มแข็ง ยั่งยืน และประสบผลสําเร็จ สามารถส่งต่อคุณค่าสาธารณะอย่าง ที่ชุมชนและสังคมคาดหวังen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.