Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69704
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorรัฐพงษ์ สังฆบุญen_US
dc.date.accessioned2020-08-21T00:51:42Z-
dc.date.available2020-08-21T00:51:42Z-
dc.date.issued2020-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69704-
dc.description.abstractThis research aims for three objectives as following: 1) survey consciousness comprised of concern, recognition, perspective, and performance in waste management of whom students in Faculty of Law, Chiang Mai University 2) to compare these students’ attitudes of consciousness to which their concern, recognition, perspective, and performance concerning waste management (i.e., separate and dump the trash) between these group of students before and after they participate in developing activities that create consciousness of separation and dumping the trash 3) to study the process of collaboration among the administration, the faculties, staff, and students of the Faculty of Law toward waste management according to their mandate which establishes in the primary mission The research methodology of this study applied quantitative research, and semi-experiment integrates with qualitative research. For the quantitative research, this study used sampling from a population of 286 law students, and in the semi-experiment, this study used 80 law students voluntarily participated in the consciousness development process. While for the qualitative research, the researcher interviewed groups of the participants 29 individuals as the administration, faculty, staff, and students in the Faculty of Law. As a result, the study found, first, the level of consciousness of the students in the Faculty of Law in general at the high level (average of 4.15). When considering line items, the study found that their concern about waste management was the highest among the study (average 4.36). For recognition and perspective contained the same number (average 4.25). Lastly, the performance of waste management was above the mean (average 3.87). Second, in terms of comparison of the level of consciousness of the testing students who joined the consciousness development process, between before and after the process, the study found the significance of the improvement at the level of 0.05. Third, the process of collaboration among the target groups of the administration, faculties, staff, and students in waste management has four points. The first factor started with encouraging the collaboration that made everyone can see the importance of waste management. The second factor was regulating policy and guidelines to form practical collective action. The third factor was building cooperation to resolve the waste management of the organization. Moreover, the last factor was creating trust among everyone in the faculty. Fourth, the factors that led to the achievement of the collaboration among the administration, faculties, staff, and students in waste management as the set goal in the mission of the Faculty of Law is the leadership, policy, and consciousness.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาจิตสำนึกและสร้างความร่วมมือใน การจัดการขยะของคณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for Developing Consciousness and Creating Collaboration in Waste Management of Faculty of Law, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสํารวจระดับจิตสํานึก ประกอบด้วย ความตระหนัก การ รับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม เกี่ยวกับการจัดการขยะของนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับจิตสํานึกได้แก่ ความตระหนัก การรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม เกี่ยวกับการจัดการขยะ (การคัดแยกขยะและทิ้งขยะ) ของนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่เป็นกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาจิตสํานึกการคัดแยกและทิ้งขยะตามที่ ออกแบบไว้ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างความร่วมมือ (Process of Collaboration) ระหว่างผู้บริหาร คณาจารย์ บุคคลากรและ นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการจัดการขยะบรรลุผลตาม เป้าหมายตามพันธกิจหลักของคณะ และ4) เพื่อศึกษาปัจจัยที่นําไปสู่ความร่วมมือระหว่าง ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาในการจัดการขยะให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ในพันธกิจ หลักของคณะนิติศาสตร์ งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research Methodology) และ การทดลองกิ่งจริง (Semi-Experiment) ผสมผสานกับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research Methodology) ในการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ จํานวน 286 คน และ การทดลองกิ่งจริง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ จํานวน 80 คนที่สมัครใจเข้า ร่วมกระบวนการพัฒนาจิตสํานึก และในส่วน การวิจัยเชิงคุณภาพ ทําการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ ทั้งหมด 29 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับจิตสํานึกในการจัดการขยะของนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.15) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า กลุ่ม ตัวอย่าง มีความตระหนักในการจัดการขยะในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.36) ส่วนด้าน การรับรู้ และ ทัศนคติเท่ากัน (ค่าเฉลี่ย 4.25 ) และ ลําดับสุดท้าย คือ พฤติกรรมในการจัดการขยะ(ค่าเฉลี่ย 3.87 ) อยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบระดับจิตสํานึกของนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ เป็นกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาจิตสํานึก พบว่า มีค่าเฉลี่ยและระดับ จิตสํานึกที่สูงขึ้นหลังผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาจิตสํานึกตามที่ออกแบบไว้ อย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการสร้างความร่วมมือ (Process of Collaboration) ระหว่างผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และ นักศึกษาของคณะนิติศาสตร์ในการจัดการขยะในพื้นที่ โดยเริ่มจาก 1. การกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือที่ทําให้ทุกคนเห็นถึงคุณค่า คุณประโยชน์ของการจัดการขยะ 2. การกําหนดนโยบายหรือการกําหนดกรอบข้อตกลงเพื่อให้เกิดแนวทางในการปฏิบัติร่วมกัน 3. ระดมความร่วมมือในการหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา หาวิธีการในการบริหารจัดการขยะของ คณะ และ 4.สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจให้กับทุกคนในคณะ 4) ปัจจัยที่นําไปสู่ความร่วมมือระหว่าง ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาในการจัดการขยะให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ใน พันธกิจหลักของคณะนิติศาสตร์ ได้แก่ ปัจจัยด้านผู้นํา ปัจจัยด้านนโยบายและปัจจัยด้านจิตสํานึกen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611932060 รัฐพงษ์ สังฆบุญ.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.