Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69693
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssociate Professor Dr. Kasara Sripichyakan-
dc.contributor.advisorAssociate Professor Dr. Chavee Baosoung-
dc.contributor.advisorAssociate Professor Dr. Pimpaporn Klunklin-
dc.contributor.authorNittaya Srisutthikamolen_US
dc.date.accessioned2020-08-20T01:05:12Z-
dc.date.available2020-08-20T01:05:12Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69693-
dc.description.abstractPregnant women at risk to having offspring with severe thalassemia require screening and prenatal diagnostic tests. These are stressful events which may cause emotional distress throughout pregnancy. Previously, there was no clear explanation of methods used by the women in managing their emotional responses, and support specifically designed to assist Thai women was needed. This phenomenological study aimed to gain a deeper understanding of the lived experiences of Thai women at risk to having offspring with severe thalassemia. Data were collected in Khon Kaen province between November 2017 and October 2018 through in-depth interviews with 15 informants. Data were analyzed using the processes proposed by Cohen, Kahn, and Steeves (2000). Member checking and peer debriefing were conducted to establish the trustworthiness of the study. The findings demonstrated four themes from the experiences of Thai women at risk to having offspring with severe thalassemia, reflecting their emotional responses, management towards the responses, and support needed. The first theme was “long-lasting fear” including fear of having a baby with severe thalassemia, fear of harms on a baby, and fear finally replaced by happiness or a tragedy. The second theme was “defeating one's fear.” This was achieved through staying away for a while, making clear with the unknown, strengthening one’s mind, and depending on a spiritual anchor from religion or supernatural power. The third theme was “protecting a baby” through nourishing the baby, terminating a pregnancy, and allowing a baby to be born with the disease. The last theme was “desiring enormous professional support” in terms of information needs, emotional support, and positive experiences with service delivery. This study provides essential knowledge for nurse-midwives to help understand the emotional responses of Thai women at risk to having offspring with severe thalassemia. It also provides the nurse-midwives with more understanding of management the women use and the professional support they need. The knowledge gained can be used as basic information to develop women-centered genetic counseling and to improve the quality of nursing care for Thai women who experience fear throughout the screening and diagnosis processes.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleExperiences of Thai Women at Risk to Having Offspring with Severe Thalassemiaen_US
dc.title.alternativeประสบการณ์ของสตรีไทยที่เสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractสตรีตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงจำเป็นต้องได้รับการคัดกรองและการตรวจวินิจฉัยในระยะตั้งครรภ์ เหตุการณ์เหล่านี้ก่อให้เกิดความตึงเครียดทางอารมณ์ตลอดกระบวนการตรวจวินิจฉัย แต่ยังไม่มีคำอธิบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับวิธีการจัดการกับการตอบสนองทางอารมณ์และการสนับสนุนที่ต้องการตามมุมมองของสตรีไทย การวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเข้าใจอย่างลึกซึ้งในประสบการณ์ชีวิตของสตรีไทยที่เสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในจังหวัดขอนแก่น ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2560 ถึงเดือนตุลาคม 2561 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลจำนวน 15 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ตามหลักการของ โคเฮน, คาฮ์น, และ สตีฟว์ (2543) สร้างความน่าเชื่อถือได้ของการวิจัยด้วยการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลจากสตรีผู้ให้ข้อมูลและการประชุมปรึกษาร่วมกับคณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยพบว่าประสบการณ์ของสตรีไทยที่เสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่สะท้อนถึงการตอบสนองทางอารมณ์ การจัดการกับการตอบสนองทางอารมณ์และการสนับสนุนที่ต้องการประกอบด้วย 4 ประเด็นหลักได้แก่ ประเด็นที่ 1 คือ ความกลัวที่เนิ่นนาน ประกอบด้วย กลัวลูกเป็นโรค กลัวอันตรายต่อลูก และในท้ายที่สุดความกลัวถูกแทนที่ด้วยความสุขหรือเรื่องเศร้า ประเด็นที่ 2 คือ การเอาชนะความกลัว ด้วยการอยู่ห่างชั่วขณะ การทำสิ่งที่ไม่รู้ให้กระจ่าง การเสริมสร้างความเข้มแข็งของจิตใจ และการพึ่งพาสิ่งยึดเหนี่ยวด้านจิตใจทางศาสนาหรือพลังเหนือธรรมชาติ ประเด็นที่ 3 คือ การปกป้องลูกโดยการบำรุงทารกในครรภ์ การยุติการตั้งครรภ์ หรือการยินยอมให้ลูกเกิดมาพร้อมโรค ประเด็นสุดท้ายคือ ความต้องการการสนับสนุนจากบุคคลากรสุขภาพอย่างมาก ได้แก่ ความต้องการด้านข้อมูลข่าวสาร การสนับสนุนทางอารมณ์ และประสบการณ์เชิงบวกกับการให้บริการ การศึกษานี้ทำให้เกิดองค์ความรู้สำหรับพยาบาลผดุงครรภ์ที่ทำให้เข้าใจการตอบสนองทางอารมณ์ของสตรีไทยที่เสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง รวมทั้งวิธีการจัดการกับการตอบสนองทางอารมณ์และการสนับสนุนที่จำเป็นสำหรับสตรีกลุ่มนี้ องค์ความรู้ที่ได้สามารถนำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์โดยยึดสตรีเป็นศูนย์กลาง และปรับปรุงคุณภาพการพยาบาลในการดูแลสตรีไทยที่ประสบกับความกลัวตลอดกระบวนการคัดกรองและตรวจวินิจฉัยen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
571251004 นิตยา ศรีสุทธิกมล.pdf3.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.