Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69676
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. วรรษพร อารยะพันธ์-
dc.contributor.authorนริศรา พรมศิริen_US
dc.date.accessioned2020-08-20T01:03:44Z-
dc.date.available2020-08-20T01:03:44Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69676-
dc.description.abstractThe purposes of Analysis and Classification of Knowledge in Lanna Khaw (Khaw means Lanna Thai rhymed verses) are to 1) Analyze the context 2) Categorize the knowledge gained from Lanna Khaw via qualitative research discipline through context analyzing model as a tool for gathering information about Lanna Khaw from 266 topics of both publishes and digital medias altogether, and 10 topics from Information Source. The result of the research reveals as follows: Lanna Khaw is categorized into 6 types: Khaw Saw (poems), Khaw Hum (used for description in archives), Khaw Chai (love letters between a man and a woman), Khaw Tham (the poem used for writing stories about royal families), Kham Oo Bao Oo Sao (Lanna serenades), and Khaw Gom (brief poems), with 14 presentation forms: fables, legends, prayers, lyrics, proverbs,riddles, textbooks, departing poems, teachings, laments, serenades, letters, words of mouth, and miscellaneous forms. The study result reflects that the most frequent form of Lanna Khaw is words of (46.62%); which consists of Khaw Hum, (30.69%) and Khaw Saw (10.53%), fables (19.55%),which consists of Khaw Saw (12.03%), Khaw Hum (2.63%), and Khaw Tham (4.89%), and legends (15.41%); which consists of Khaw Hum (13.16%) and Khaw Saw (2.26%). Lanna Khaw; considering from international frameworks; such as Dewey Decimal Classification (D.C.) and Library of Congress Classification (L.C.), which are for categorizing traditional literatures, and comparison of Thai language phrases of IT resource analysis team in university libraries, can be basically categorized into 15 main classes. Next, having considered the redundancy, the categories remain 13. To make the categorization of Lanna Khaw become even more accurate, comprehensive, and complete, the work was sent to 3 experts to re-examine again. As a result, the aforementioned categorization can be re-categorized into 10 main classes of knowledge from Lanna Khaw: agriculture, belief, lifestyle and custom, value, Jatakas (the biography of Lord Buddha), legends, fables, folk wisdom, literature, and important days, 44 subclasses, 59 divisions,and 38 small topics.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์และการจัดหมวดหมู่ความรู้ล้านนาen_US
dc.title.alternativeAnalysis and Classification of Knowledge in Lanna Khawen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่องการวิเคราะห์และการจัดหมวดหมู่ความรู้ค่าวล้านนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์เนื้อหา 2) จัดหมวดหมู่ความรู้ในค่าวล้านนา โดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แบบวิเคราะห์ เนื้อหาเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทรัพยากรสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับค่าวล้านนา ทั้งในรูปแบบสิ่งตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์และดิจิทัล จํานวน 266 ชื่อเรื่อง จากแหล่งสารสนเทศ จํานวน 10 แห่ง ผลการวิจัยพบว่าค่าวล้านนาแบ่งออกเป็น 6 ประเภท คือ ค่าวซอ ค่าวค่ํา ค่าวใช้ ค่าวธรรม คําอู่บ่าวกู้สาว และ ค่าวก้อม โดยรูปแบบการนําเสนอเนื้อหาแบ่งออกเป็น 14 รูปแบบ 1) นิทาน 2) ตํานาน 3) บทสวด 4) บทร้อง 5) สํานวนสุภาษิต 6) ปริศนาคําทาย 7) ตํารา 8) นิราศ 9) คําสอน 10) คําร่ํา 11) คําเกี้ยวสาว 12) จดหมาย 13) เรื่องเล่า และ14) รูปแบบอื่นๆ จากรูปแบบการนําเสนอเนื้อหาค่าวล้านนา ผลการศึกษา พบว่า ค่าวล้านนามีรูปแบบการนําเสนอเนื้อหาแบบเรื่องเล่ามากที่สุด ร้อยละ 46.62 แบ่งเป็น ค่าวซ้ํา ร้อยละ 36.09 และค่าวซอ ร้อยละ 10.53 รองลงมามีรูปแบบการนําเสนอเนื้อหาแบบนิทาน ร้อยละ 19.55 แบ่งเป็น ค่าวซอ ร้อยละ 12.03 ค่าวอํา ร้อยละ 2.63 และค่าวธรรมร้อยละ 4.89 และรูปแบบการ นําเสนอเนื้อหาแบบตํานาน ร้อยละ 15.41 แบ่งเป็นค่าวฮ่ ร้อยละ 13.16 และค่าวซอ ร้อยละ 2.26 การจัดหมวดหมู่ความรู้ค่าวล้านนา โดยพิจารณาจากกรอบการจัดหมวดหมู่ระบบสากลเกี่ยวกับ วรรณกรรมพื้นบ้าน ได้แก่ ระบบทศนิยมดิวอี้ (D.C) ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (L.C.) มาเป็น พื้นฐานในการจัดหมวดหมู่ และการเทียบเคียงกลุ่มคําจากหัวเรื่องภาษาไทยของคณะทํางานกลุ่ม วิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ผลการวิเคราะห์เนื้อหาสามารถจัด หมวดหมู่ความรู้ค่าวล้านนาทั้งหมด จํานวน 15 หมวด จากนั้นนํามาพิจารณาความซ้ําซ้อนทางเนื้อหา สามารถจัดกลุ่มออกเป็นจํานวน 13 หมวด และเพื่อให้หมวดหมู่ความรู้ค่าวล้านนามีความถูกต้อง ครอบคลุม และสมบูรณ์ยิ่งขึ้นได้ส่งให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดหมวดหมู่ จํานวน 3 คนตรวจสอบอีกครั้ง จากผลการประเมินการจัดหมวดหมู่ความรู้ค่าวล้านนา สามารถนํามาใช้เป็นหมวดหมู่ความรู้ค่าว ล้านนา จํานวน 10 หมวดใหญ่ ได้แก่ 1) เกษตรกรรม 2) ความเชื่อ 3) ความเป็นอยู่และประเพณี 4) ค่านิยม 5) ชาดก 60 ตํานาน 7) นิทาน 8) ภูมิปัญญาชาวบ้าน 9) วรรณกรรม และ 10) วันสําคัญ หมวดย่อยจำนวน 44 หมวดย่อยหมู่จำนวน 59 หมู่และหมู่ย่อย จำนวน 38 หมู่ย่อยen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600132002 นริศรา พรมศิริ.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.