Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69645
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. ศิวพร อึ้งวัฒนา-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ วิลาวัณย์ เตือนราษฏร์-
dc.contributor.authorศิริกาญจน์ อินทะชัยen_US
dc.date.accessioned2020-08-19T08:47:28Z-
dc.date.available2020-08-19T08:47:28Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69645-
dc.description.abstractThe vision problem is a health problem in students which can be prevented. Student leaders play a key role in screening vision problems pursuant to the criteria of public health ministry whereby students are required to have their eyes checked once annually. This study the effects of a Capacity Development Program for student leaders aimed to make a comparison of knowledge and practices among student leaders for visual examination in school through Activity-based Learning (ABL). This learning process consisted of three main activities: explore, find and research activity, creative activity, and self-expression activity. The research was divided into three phases: pre-activity, implementation, and evaluation. The sample was a total of 33 student leaders at Wat Weruwan School, Yang Noeng, Saraphi District, Chiang Mai between February and March 2020. Instruments used in this study included the general questionnaire, student leader’s knowledge assessment form on the visual examination, student leader’s practices form on the visual examination, and the capacity development program for student leaders. The data were analyzed by descriptive statistics and inferential statistics: t-test and McNemar test. After the capacity development program through Activity-based Learning was offered to student leaders, the results were as follows: 1. Student leaders had higher average scores of visual examination knowledge at school after participation in the capacity development program for student leaders than before the program was provided, with statistical significance (p < 0.001). 2. Student leaders had a more accurate ability of visual examination practices at school after participation in the capacity development program for student leaders than before the program was provided, with statistical significance (p < 0.001). These findings showed that the capacity development program for student leaders through Activity-based Learning positively resulted in better knowledge and practices of visual examination in school. Accordingly, the capacity development program for student leaders through Activity-based Learning can be further applied for student leaders’ potential enhancement.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพสาหรับแกนนานักเรียนผ่านการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานต่อความรู้และการปฏิบัติการตรวจสายตาในโรงเรียนen_US
dc.title.alternativeEffects of a Capacity Development Program for Student Leaders Through Activity-based Learning on Knowledge and Practices of Visual Examination in Schoolen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะสายตาผิดปกติเป็นปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนที่สามารถป้องกันได้ แกนนานักเรียนมีบทบาทสาคัญในการคัดกรองความผิดปกติของสายตา ตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข โดยนักเรียนจะต้องได้รับการตรวจสายตาปีละ 1 ครั้ง การศึกษาผลของการให้โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพสาหรับแกนนานักเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้และการปฏิบัติของแกนนานักเรียนในการตรวจสายตาในโรงเรียน โดยใช้กรอบแนวคิดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเป็นฐาน (Activity Based Learning: ABL) เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการทากิจรรม ประกอบด้วย 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมเชิงสารวจ เสาะหา ค้นคว้า กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ และกิจกรรมการแสดงออก ผู้ศึกษาแบ่งการดาเนินการวิจัยออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนการทากิจกรรม ระยะการดาเนินการ และระยะการประเมินผล กลุ่มตัวอย่างคือแกนนานักเรียนจานวน 33 คน ทาการศึกษาที่โรงเรียนวัดเวฬุวัน ตาบลยางเนิ้ง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมีนาคม 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความรู้การตรวจสายตาของแกนนานักเรียน แบบสังเกตการปฏิบัติการตรวจสายตาของแกนนานักเรียน และชุดโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแกนนานักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติอ้างอิง คือการทดสอบทีและการทดสอบแมคนีมา ภายหลังการให้โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแกนนานักเรียนผ่านการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน พบว่า 1. แกนนานักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้เกี่ยวกับการตรวจสายตาในโรงเรียนภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแกนนานักเรียนสูงกว่าก่อนการให้โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแกนนานักเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < 0.001) 2. แกนนานักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติในการตรวจสายตาในโรงเรียนภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแกนนานักเรียนได้ถูกต้องมากขึ้นกว่าก่อนการให้โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแกนนานักเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < 0.001) ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การพัฒนาศักยภาพแกนนานักเรียนโดยใช้การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเป็นฐาน ส่งผลให้แกนนานักเรียนเกิดการพัฒนาความรู้และการปฏิบัติในการตรวจสายตาในโรงเรียนเพิ่มขึ้น ดังนั้นสามารถนาเอาโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแกนนานักเรียนผ่านการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานมาใช้เพื่อการพัฒนาศักยภาพแกนนานักเรียนต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231073 ศิริกาญจน์ อินทะชัย.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.