Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรษพร อารยะพันธ์-
dc.contributor.authorภิญญาพัชญ์ ญานะคำen_US
dc.date.accessioned2020-08-18T02:43:47Z-
dc.date.available2020-08-18T02:43:47Z-
dc.date.issued2020-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69625-
dc.description.abstractCopyright law issues in Thai national universities were explored focusing on librarians’ knowledge, understanding, and usages. This study aimed to explore Librarians’ Knowledge, Understanding and Usage Problems of Copyright Laws at Higher Education Institutions in Thai Universities. The quantitative research methodology composed of two parts which were data collection and data analyzes. The data collection was retrieved from 14 universities in Thailand. The questionnaire was used, as a tool. 342 librarians replied from 427 librarians with the response rate at 80.09 %. The results showed librarians' opinions about copyright law was in high level with the score (x̅ =4.46).The importance of librarians’ copyright knowledge was the highest core(x̅ =4.69). The highest scores were analyzed separated in each category which are library copyright law, fair use, acquisition information resource, and information resource service. In library copyright law category, the highest score was 97.08% which was understanding the definition of copyright law which the owner’s right was defined by the law. In fair use category, the highest score was 95.91% which was the fair use under Copyright Act 1994 for librarians allowing to reproduce for non-profit library usage or education purposes. In acquisition information resource category, the highest score was 78.65% which was understanding of the copyright violation if the copyright materials were photocopied by librarians for services before purchasing from publishers. In information resource service category, the highest score was 98.54% which was understanding the interlibrary loan service (ILL) through the WorldCat or EDS system with studying terms and conditions of the documents from the license agreement prior the services. In conservation and preservation of information resources category, the highest score was 91.23% which was understanding the preservation of the copyrighted work from librarians without affect owner rights.The data was further analyzed by statistical method. In Thai national university libraries, the other problems were in high level with the score(x̅ =3.95).The problems of acquisition information resource were in level with the score ( x̅ = 3.75). The problems information resource service were in level with the score(x̅ =3.71).The problems of information resources preservations were in level with the score ( x̅ = 3.50) and the problems inter-library loans with delivery services were in level with the score(x̅ =3.48)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรู้ความเข้าใจและปัญหาการใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ ของบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeLibrarians’ knowledge, understanding and usage problems of copyright laws at Higher Education Institutions in Thai Universitiesen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashลิขสิทธิ์-
thailis.controlvocab.thashบรรณารักษ์ -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashนักเอกสารสนเทศ -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashทรัพย์สินทางปัญญา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง ความรู้ความเข้าใจและปัญหาการใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ของบรรณารักษ์ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจ และปัญหา การใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ของบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย โดยใช้การวิจัย เชิงปริมาณ มีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มประชากรในการวิจัยคือ บรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย จํานวน 427 คน จาก 14 มหาวิทยาลัย ได้รับแบบสอบถามกลับคืนจํานวน 342 ชุด คิดเป็นร้อยละ 80.09 ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นของบรรณารักษ์ที่มีต่อกฎหมายลิขสิทธิ์ในภาพรวม อยู่ใน ระดับมาก (x̅ = 4.46) ความคิดเห็นของบรรณารักษ์ที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ความจําเป็นในการรู้เรื่อง กฎหมายลิขสิทธิ์ในงานห้องสมุดของบรรณารักษ์ (x̅ = 4.69) ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์ในห้องสมุดในภาพรวม ข้อคําถามที่ตอบ ถูกมากที่สุด คือ ลิขสิทธิ์ คือ สิทธิแต่ผู้เดียวของเจ้าของที่จะทําการใด ๆ ได้ตามกฎหมายลิขสิทธิ์กําหนด (ร้อยละ 97.08) ด้านการใช้งานอย่างเป็นธรรม (Fair Use) ในภาพรวม ข้อคําถามที่ตอบถูกมากที่สุด คือ พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตราที่ 34 การทําซ้ำาโดยบรรณารักษ์ของห้องสมุดซึ่งงานอันมีลิขสิทธิ์ ได้แก่ (1) ต้องเป็นการทําซ้ำเพื่อห้องสมุด หรือ (2) ทําซ้ำบางตอนตามสมควรเพื่อประโยชน์การศึกษา ไม่ให้ถือ ว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์หากการทําซ้ำนั้นมิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อหากําไร (ร้อยละ 95.91) ด้านการจัดหา ทรัพยากรสารสนเทศในภาพรวม ข้อคําถามที่ตอบถูกมากที่สุด คือ สํานักพิมพ์นําหนังสือมาให้ห้องสมุด พิจารณาจัดซื้อ แต่ห้องสมุดได้นําหนังสือไปถ่ายสําเนาเพื่อให้บริการภายในห้องสมุด แล้วส่งหนังสือเล่ม นั้นคืนสํานักพิมพ์ ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ของสํานักพิมพ์ (ร้อยละ 78.65) ด้านการบริการทรัพยากร สารสนเทศในภาพรวม ข้อคําถามที่ตอบถูกมากที่สุด คือ การให้บริการยืมระหว่างห้องสมุด (ILL) ผ่าน ระบบ WorldCat หรือ EDS ต้องมีการศึกษาเงื่อนไขการให้บริการเอกสารจากเอกสารข้อตกลง (License Agreement) เสมอ (ร้อยละ 98.54) และด้านการอนุรักษ์และการสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศในภาพรวม ข้อคําถามที่ตอบถูกมากที่สุด คือ ห้องสมุดสามารถดําเนินการเพื่อสงวนเก็บรักษาผลงานอันมี ลิขสิทธิ์ ได้ โดยต้องไม่กระทบสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร (ร้อยละ 91.23) ด้านปัญหาการใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ในห้องสมุดในภาพรวม พบว่า ปัญหาด้านอื่น ๆ อยู่ในระดับ มาก (x̅ = 3.95) รองลงมาคือ ด้านการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ อยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.75) ด้านการ ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ อยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.71) ปัญหาด้านการอนุรักษ์และการสงวนรักษา ทรัพยากรสารสนเทศอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.50) และปัญหาด้านการยืมระหว่างห้องสมุดและการส่งเอกสารอยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 3.48)en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600132026 ภิญญาพัชญ์ ญานะคำ.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.