Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิงห์ สุวรรณกิจ-
dc.contributor.authorจารุกิตติ์ เชียงจันทร์en_US
dc.date.accessioned2020-08-17T01:45:16Z-
dc.date.available2020-08-17T01:45:16Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69607-
dc.description.abstractHappiness is an emotion that changes according to the social context with other related dimensions. During the years of 1958-1972, which was considered the golden age of Thai society development, Thailand was under the economic influence directed by the development concept, including the context of the Cold War. Thai society has been dominated by the United States. Therefore, the Government has an important role in clarifying happiness in order to respond to economic and social structures efficiently. The meaning of happiness is not determined only from the above paragraph. It is found that people in society are also involved in defining the meaning of happiness as well, frequently in magazines, journals, and other publications. For this reason, happiness in the development age has been defined in a more sophisticated approach, perception and understanding than the past. It can be clearly seen from the differences among "an immediate happiness" and "a delay happiness", as well as the emphasis on body and mind. All these values flow in the direction of the socio-economic context. However, happiness in Thai society during the development age was not always consistent with its current era. Happiness is still a controversial topic. Although it is viewed as lust, it appears as there is a compromise like solitude. From this study, it is certain that happiness is another dimension of development and interaction in social contexts.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประวัติศาสตร์ว่าด้วยความสุขในมุมมองของรัฐและสื่อสิ่งพิมพ์ไทย พ.ศ. 2501-2515en_US
dc.title.alternativeHistory of Happiness from the Perspective of the Thai State and Media, 1958-1972en_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความสุขเป็นอารมณ์ความรู้สึกที่เปลี่ยนแปลงไปตามบริบททางสังคมด้วยอีกมิติหนึ่ง โดยเฉพาะในช่วง พ.ศ. 2501-2515 ซึ่งถือเป็นยุคทองแห่งการพัฒนา สังคมไทยช่วงเวลานี้ตกอยู่ภายใต้ อิทธิพลทางด้านเศรษฐกิจที่กำกับด้วยแนวคิดการพัฒนา รวมทั่งบริบทของสงครามเย็นที่สังคมไทยถูก ครอบงำจากสหรัฐอเมริกา เหล่านี้ส่งทำให้รัฐกลายเป็นตัวละครสำคัญที่มีบทบาทในการให้ ความหมายความสุขของสังคมเปลี่ยนไป เพื่อจะตอบสนองต่อโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การให้ความหมายความสุขไม่ได้ถูกกำหนดจากส่วนบนแต่เพียงด้านเดียว โดยพบว่าผู้คนใน สังคมยังมีส่วนร่วมในการนิยามความสุขด้วยเช่นกัน มักจะพบได้จากนิตยสาร วารสาร ตลอดจนสื่อ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ด้วยเหตุนี้ความสุขในยุคพัฒนาจึงมีรูปลักษณ์ การรับรู้ และความเข้าใจที่สลับซับซ้อน มากขึ้นกว่าที่เป็นมา เห็นได้ชัดเจนจากการแตกตัวของความหมายระหว่าง “ความสุขโดยประชิด” กับ “ความสุขโดยประวิง” อีกทั้งร่างกายกับจิตใจก็ถูกเน้นย้า ด้วย ทว่าคุณค่าทั้งหมดนี้กลับไปในทิศทาง เดียวกันกับบริบททางเศรษฐกิจและสังคมอย่างไม่ต้องสงสัย อย่างไรก็ตามความสุขในสังคมไทย ยุคพัฒนานั้นก็ไม่ได้คล้อยตามกับบรรยากาศแห่งยุคสมัยเสมอไป ทั้งนี้จะเห็นว่ามีการงัดง้างอยู่ โดยเฉพาะการมองว่าเป็นกิเลสกับตัณหา ในขณะเดียวกันก็ยังปรากฏว่ามีประนีประนอมด้วย เช่นความสันโดษ แน่นอนว่าทั้งหมดนี้ทำให้เห็นว่าความสุขนั้นเป็นอีกมิติที่มีพัฒนาการและ ปฏิสัมพันธ์อยู่กับบริบททางสังคมอยู่ตลอดเวลาen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590131006 จารุกิตติ์ เชียงจันทร์.pdf15.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.