Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69573
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Associate Professor Dr. Soontorn Khamyong | - |
dc.contributor.advisor | Associate Professor Dr. Panlop Huttagosol | - |
dc.contributor.advisor | Associate Professor Dr. Amarin Boontun | - |
dc.contributor.advisor | Assistant Professor Dr. Arisara Charoenpanyanet | - |
dc.contributor.author | Suppagarn Thiteja | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-15T03:02:54Z | - |
dc.date.available | 2020-08-15T03:02:54Z | - |
dc.date.issued | 2020-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69573 | - |
dc.description.abstract | The research aims to monitoring carbon storages of plantation forests in reclaimed land and natural forests in Phadeng zinc mine (Mae Toa Watershed, Maesod district, Tak province) and Banpu coal mine (Li district, Lamphun province) Phadeng zinc mine was operated in the right upper Mae Tao watershed and thus affected land use in the watershed. The research composed of three parts: (1) Land use change in watershed (2) survey of plant community and carbon storage in forest plantations in two areas, plantations in degraded forest for compensated in mine land and plantations in dumping area, and (3) studying growth, production and carbon storage of tree species planted around office areas. The land use changes in Mae Tao watershed was divided into 4 periods according to mining: (1) pre-mining (period I), (2) during mining as before forest plantation (period II) (3) during mining as after forest plantation (period III), and (4) post-mining (period IV). The methods included field survey and remote sensing technology for classifying types of land use. The results showed percentage proportions of natural forest to the lower watershed having mining in the four periods were 73.3, 63.6, 41.4 and 35.9, respectively. Other land use had different values: agricultural land = 25.7, 29.8, 15.9 and 17.2; mineland = 1.0, 6.6, 14.3 and 1.3; and plantation forest = 0, 0, 18.3 and 45.6. Agriculture was changed from for subsistence to commercial purpose. Natural forest was decreased progressively caused by mainly forest clearing for cultivation. Forest plantation in mine land, adjacent degraded forest land and bare forest land taken from the farmers increased the forest area proportion in the watershed, from 73.3% (period 1) to 81.5% (period 4). Carbon storage in Phadeng zinc mine area was studied into five areas: (1, 2) the restoration plantation forests included 19- and 20-year old stands (PF1; 5 plots, PF2; 5 plots), (3) the reclamation dumping area plantation forests 9 to 19 year-old (PF3; 3 plots), (4) the dry dipterocarp forest (DDF; 5 plots) and the mixed deciduous forest (MDF; 5 plots) The plots each, 40x40 m2 in size were used for plant survey in the forests. Plant data were collected by measuring stem girth at 1.3 m above-ground and tree height of all tree species with the height over 1.5 m. Carbon storage (CS) in biomass was measured using allometric equations. The result showed the average of the CS in the plantation forest: PF1, PF2 and PF3 were 40.5, 57.5 and 36.4 Mg ha-1, respectively. The CS of natural forest: DDF and MDF were 94.5 and 147.0 ha-1, respectively. The relationship between the above-ground carbon storage (ACS) and NDVI values based on Lansat-8 satellite imagery was investigated in different season during a year, and found that the data in December were the most corelated values to the ACS of PF1, PF2 and MDF, the data in January was the most corelated values to the ACS of DDF and the data in May were the most corelated values to the ACS of PF3 Banpu coal mine was operated in the national reserved forest nearby Ban Hong village. The research composed of two parts: (1) survey of plant community and carbon storage in natural forest (Dry dipterocarp forest) which is the community forest, and (2) studying growth, production and carbon storage of forest plantation in dumping areas. Land use change was not investigated in this area. Carbon storage in Banpu coal mine area field vegetation survey was done in the 18-year-old plantation forests in dumping area; PF4 and adjacent the dry dipterocarp forest; DDF2 using sampling plots, each of size 40×40 m, 12 plots for the PF4 and 10 plots in the DDF2. Plant data were obtained by measuring stem girths and tree heights. Amounts of biomass and carbon storage (CS) were calculated using allometric equations. Relationship between the CS and vegetation index of satellite images was taken from 2015 Landsat image for multiple regression analysis to obtain the best correlation. The equation used to estimate the CS in the PF4 and DDF2 were 43.6 and 56.3 Mg ha-1, respectively. The best equation for estimating the above-ground carbon storage (ACS) in the PF4; ACS = (154NDVI)+(103RVI)-76 (R2 = 0.96) and in the DDF2, ACS = (334NDVI)+(248RVI)-222 (R2 = 0.91). The equation were estimated ACS amounts in PF4: before mining (1987), 81.7 Mg ha-1, during mining (1990, 1995; before plantation ), 0.72 and 10.7 Mg ha-1, respectively and during stand development (1997, 2000, 2005, 2010, 2015, 2016, 2017) were in the following order; 15.2, 25.0, 35.1, 36.8, 41.5, 50.1 and 36.83 Mg ha-1, respectively. After 18 years reforestation, the ACS in biomass of PF4 was increased to 75.55% of adjacent natural forest. The decreased ACS in 2017 was caused by standing dead trees and illegal tree cutting. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Monitoring Carbon Storages of Plantation Forests in Reclaimed Land and Natural Forests in Zinc and Coal Mines, Northern Thailand | en_US |
dc.title.alternative | การติดตามศึกษาการกักเก็บคาร์บอนของป่าปลูกในที่ดินเพื่อการฟื้นฟูและป่าธรรมชาติบริเวณเหมืองแร่สังกะสีและถ่านหินในภาคเหนือของประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามศึกษาการกักเก็บคาร์บอนของป่าปลูกในที่ดินเพื่อการฟื้นฟูและป่าธรรมชาติในพื้นที่เหมืองแร่สังกะสีผาแดงในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่ตาว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก และพื้นที่เหมืองถ่านหินบ้านปู อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน เหมืองแร่สังกะสีผาแดง เป็นการทำเหมืองในพื้นที่ต้นน้ำของลุ่มน้ำแม่ตาวตอนบนฝั่งขวา จึงมีผลต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำ การวิจัยประกอบด้วย (1) การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำ (2) การสำรวจสังคมพืชและการกักเก็บคาร์บอนในป่าปลูก 2 พื้นที่ คือพื้นที่ป่าปลูกในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมเพื่อทดแทนพื้นที่ทำเหมือง และป่าปลูกในพื้นที่ทิ้งดิน และ (3) การศึกษาการเจริญเติบโต ผลผลิต และการกักเก็บคาร์บอนในพันธุ์ไม้ชนิดต่างๆ บริเวณพื้นที่สำนักงาน การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่ตาวแบ่งออกเป็น 4 ช่วง ตามระยะเวลาของการทำเหมืองแร่ คือ (1) ก่อนการทำเหมืองแร่ (ระยะที่ 1) (2) ระหว่างการทำเหมืองแร่ช่วงก่อนปลูกป่าฟื้นฟู (ระยะที่ 2) (3) ระหว่างการทำเหมืองแร่ช่วงหลังปลูกป่าฟื้นฟู (ระยะที่ 3) และ (4) ภายหลังการปิดเหมือง (ระยะที่ 4) การจำแนกประเภทการใช้ที่ดินได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการสำรวจจากระยะไกลด้วยวิธีการจำแนกช่วงของค่าดัชนีพืชพรรณ (NDVI) ร่วมกับข้อมูลทุติยภูมิและการสำรวจภาคสนาม พบว่า พื้นที่ลุ่มน้ำส่วนล่างที่มีการทำเหมืองแร่ มีสัดส่วนร้อยละของพื้นที่ป่าธรรมชาติใน 4 ระยะเท่ากับ 73.3, 63.6, 41.4 และ 35.9 ตามลำดับ พื้นที่เกษตรกรรม เท่ากับ 25.7, 29.8, 15.9 และ 17.2 พื้นที่เหมืองแร่ เท่ากับ 1.0, 6.6, 14.3 และ 1.3 และพื้นที่ป่าปลูก เท่ากับ 0, 0, 18.3 และ 45.6 การเกษตรเปลี่ยนจากแบบยังชีพเป็นเพื่อการค้า พื้นที่ป่าธรรมชาติลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่วนใหญ่เกิดการบุกรุกแผ้วถางป่าเพื่อการเพาะปลูก มีการปลูกป่าฟื้นฟูพื้นที่เหมืองแร่ ปลูกทดแทนในพื้นที่ใกล้เคียงและพื้นที่ยึดคืนจากชาวบ้าน จึงทำให้พื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึ้น แม้ว่าพื้นที่ป่าธรรมชาติลดลง แต่การปลูกป่าทำให้สัดส่วนของพื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่ลุ่มน้ำเพิ่มขึ้น จากร้อย 73.3 (ระยะที่ 1) เป็น 81.5 (ระยะที่ 4) การกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่เหมืองแร่สังกะสีผาแดง แบ่งเป็น 5 พื้นที่ คือป่าปลูกเพื่อการทดแทนพื้นที่การทำเหมืองแร่ อายุ 19 ปี (PF1) และ 20 ปี (PF2) ชั้นอายุละ 5 แปลง ป่าปลูกเพื่อฟื้นฟูพื้นที่ทิ้งดิน อายุ 9-19 ปี (PF3) จำนวน 3 แปลง ป่าเต็งรัง (DDF) และป่าเบญจพรรณ (MDF) ประเภทละ 5 แปลง และทำการสำรวจพรรณไม้ในภาคสนามของแต่ละแปลงโดยใช้แปลงสุ่มตัวอย่างขนาด 40x40 เมตร และเก็บข้อมูลโดยวัดเส้นรอบวงลาต้นที่ระดับ 1.3 เมตร จากพื้นดินของต้นไม้ที่มีความสูง 1.5 เมตร ขึ้นไป และวัดความสูงของต้นไม้ คำนวณปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือและใต้พื้นดิน (CS) โดยใช้สมการแอลโลมิทรี พบว่า พบว่าปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเฉลี่ยในป่าปลูก PF1, PF2 และ PF3 มีค่าเท่ากับ 6,480, 9,200 และ 5,824 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ส่วนในป่าธรรมชาติ DDF และ MDF มีปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเฉลี่ยเท่ากับ 15,120 และ 23,520 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ และจากการศึกษาความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างปริมาณคาร์บอนเหนือพื้นดิน (ACS) กับค่า NDVI จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Lansat-8 แต่ละฤดูกาลในรอบ 1 ปี พบว่า ความสัมพันธ์เชิงเส้นที่ดีที่สุดของพื้นที่ PF1, PF2 และ MDF อยู่ช่วงเดือนธันวาคม ส่วนพื้นที่ PF3 และ DDF อยู่ช่วงเดือนพฤษภาคม และเดือนมกราคม ตามลำดับ เหมืองถ่านหินบ้านปู เป็นการทำเหมืองในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติใกล้ชุมชนบ้านโฮ่ง การวิจัยประกอบด้วย (1) การสำรวจสังคมพืชและการกักเก็บคาร์บอนในธรรมชาติ (ป่าเต็งรัง) ซึ่งเป็นป่าชุมชน และ (2) การศึกษาการเจริญเติบโต ผลผลิต และการกักเก็บคาร์บอนในป่าปลูกบริเวณพื้นที่ทิ้งดิน แต่ไม่ได้การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำ การกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่เหมืองถ่านหินบ้านปู แบ่งเป็น 2 พื้นที่ คือป่าปลูกฟื้นฟูพื้นที่ทิ้งดิน อายุ 18 ปี (PF4) จำนวน 12 แปลง และป่าเต็งรัง (DDF2) จำนวน 10 แปลง ทำการสำรวจพรรณไม้ในภาคสนามแต่ละแปลง ขนาด 40x40 เมตร โดยวัดเส้นรอบวงลาต้นที่ระดับ 1.3 เมตร จากพื้นดินของต้นไม้ที่มีความสูง 1.5 เมตร ขึ้นไป และวัดความสูงของต้นไม้ คำนวณปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพ โดยใช้สมการแอลโลมิทรี จากนั้นวิเคราะห์ความสัมพันธ์ถดถอยแบบพหุคูณระหว่างค่าปริมาณการกักเก็บคาร์บอนกับค่าดัชนีพืชพรรณที่วิเคราะห์จาภาพถ่ายดาวเทียม Landsat ในช่วงเวลาเดียวกับที่มีการสำรวจภาคสนาม (ธันวาคม 2560) ผลการศึกษาพบว่าปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเฉลี่ยในพื้นที่ PF4 และ DDF2 มีค่าเท่ากับ 6,981 และ 9,002 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ โดยสมการที่ดีที่สุดสำหรับประเมินปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพื้นดินในพื้นที่ PF4 คือ ACS = (154NDVI)+(103RVI)-76 (R2=0.96) พื้นที่ DDF2 คือ ACS = (334NDVI)+(248RVI)-222 (R2=0.91) จากสมการดังกล่าวสามารถประเมินปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ PF4 ช่วงก่อนการทำเหมือง (พ.ศ. 2530) ได้เท่ากับ 13,078 กิโลกรัมต่อไร่ ช่วงทำเหมืองก่อนการฟื้นฟู พ.ศ.2540 และ 2548 มีค่าเท่ากับ 115 และ 1,701 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ช่วงทำเหมืองและฟื้นฟู (2540, 2543, 2548, 2553, 2558, 2559, 2560) มีค่าเท่ากับ 2,429, 3,994, 5,619, 5,883, 6,637, 8,008 และ 5,893 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ซึ่งปริมาณคาร์บอนกักเก็บใน PF4 เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 75.55 ของป่าธรรมชาติ ในปีพ.ศ. 2559 และมีค่าลดลงในปี พ.ศ. 2560 เนื่องจากการลักลอบตัดต้นไม้และการยืนต้นตายของต้นไม้ | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590851003 ศุภกานต์ ธิเตจ๊ะ.pdf | 11.29 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.