Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69516
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทพ.ดร.นฤมนัส คอวนิช-
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทพญ.ดร.กันยารัตน์ คอวนิช-
dc.contributor.authorนิจกาล สุทธหลวงen_US
dc.date.accessioned2020-08-12T01:59:47Z-
dc.date.available2020-08-12T01:59:47Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69516-
dc.description.abstractThis Cross-sectional study aimed to investigate perceived susceptibility, perceived severity, perceived benefits, perceived barriers and preventive behavior for Streptococcus suis infection and study the relationship between perception and preventive behavior of people in Pua sub-district, Amphur Pua, Nan province. Samples of the study were 368 people selected by simple random sampling. Developed interview forms were used to collect the data. The data was analyzed with descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, and standard deviation. The relationships between factors were analyzed by Chi - Square statistics. The results from the study showed that perceived susceptibility, perceived severity, perceived benefits, perceived barriers for Streptococcus suis infection were high, the preventive behavior for the infection was in moderate level. Association between perceived susceptibility and preventive behavior, as well as between perceived barriers and preventive behavior was statistically significant (P-value < 0.001 and < 0.001 accordingly). Contrarily associations between perceived severity and preventive behavior (P-value = 0.171) and those between perceived benefits and preventive behavior (P-value = 0.554) were found not statistically significant. In conclusion, some behavior of study population was in low level, which not conformed to their perception. More behavior modification should be introduced in order to encourage preventive behavior for Streptococcus suis in this population.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการรับรู้และพฤติกรรมป้องกันโรคติดเชื้อ Streptococcus suis ของประชาชนในเขตตำบลปัว อำเภอปัว จังหวัดน่านen_US
dc.title.alternativePerception and Preventive Behavior for Streptococcus suis Infection of People in Pua Sub-district, Amphur Pua, Nan Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้โอกาสในการเป็นโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ผลประโยชน์ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตน การรับรู้อุปสรรคในการเปลี่ยนพฤติกรรมของตน และพฤติกรรม ป้องกันโรคติดเชื้อ Streptococcus suis และศึกษาความสัมพันธ์ของการรับรู้และพฤติกรรมป้องกัน โรคติดเชื้อ Streptococcus suis ของประชาชนในเขตตา บลปัว อา เภอปัว จังหวัดน่าน จา นวน 368 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ที่พัฒนาขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสถิติไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่าการรับรู้โอกาสในการเป็นโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ ผลประโยชน์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตน การรับรู้อุปสรรคในการเปลี่ยนพฤติกรรมของตน ของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ Streptococcus suis มีการรับรู้อยู่ในระดับมาก และมีระดับ พฤติกรรมในการป้องกันโรคติดเชื้อ Streptococcus suis อยู่ในระดับปานกลางขึ้นไป เมื่อศึกษา ความสัมพันธ์พบว่า การรับรู้โอกาสในการเป็นโรคติดเชื้อ Streptococcus suis กับพฤติกรรมการ ป้องกันตนเองทั้งด้านการบริโภคและการสัมผัสมีความสัมพันธ์กัน อย่างมีนัยสา คัญทางสถิติ (P-value < 0.001) การรับรู้ความรุนแรงของโรคติดเชื้อ Streptococcus suis กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองทั้ง ด้านการบริโภคและการสัมผัสไม่มีความสัมพันธ์กัน (P-value = 0.171) การรับรู้ผลประโยชน์ในการ เปลี่ยนพฤติกรรมของตนเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ Streptococcus suis กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองทั้ง ด้านการบริโภคและการสัมผัสไม่มีความสัมพันธ์กัน (P-value = 0.554) การรับรู้อุปสรรคในการ เปลี่ยนพฤติกรรมของตนเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ Streptococcus suis กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองทั้ง ด้านการบริโภคและการสัมผัสมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P-value < 0.001) ซึ่งจาก ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า แม้ประชาชนจะมีการรับรู้อยู่ในระดับมากแต่ยังมีพฤติกรรมบางอย่างที่ ไม่สอดคล้องกับระดับการรับรู้ ดังนั้นจึงควรมีการหาแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง แก่ประชาชน เพื่อเป็นประโยชน์ในการป้องกันตนเองและชุมชนต่อไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
582232026 นิจกาล สุทธหลวง.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.