Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศาสตราจารย์ ดร.ดนัย บุณยเกียรติ-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.พิชญา พูลลาภ-
dc.contributor.authorกฤติยาณี วรรณภิระen_US
dc.date.accessioned2020-08-08T03:06:36Z-
dc.date.available2020-08-08T03:06:36Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69457-
dc.description.abstractThis research was aimed at studying the optimum process parameters for vacuum cooling and physico-chemical quality, pathogenic microorganism and storage life of vacuum cooled ready to eat crisp head, butter head and red coral lettuces that packed in different packaging. The optimum parameters of vacuum cooling for ready to eat crisp head, butter head and red coral lettuces were studied to obtain the final temperature of 4 ± 1 °C. In the experiment, three final pressures of 6.0, 6.5 and 7.0 millibar with holding times of 5 and 10 minutes were investigated. The results illustrated that the optimum parameters of 3 ready to eat lettuces were at the final pressure of 6.5 millibar with holding time of 5 minutes. The average overall cycle times of ready to eat crisp head lettuce were 18 minutes and the weight loss during vacuum cooling with the previous optimum parameters was 2.51 %. For ready to eat butter head lettuce the total cycle time was 19 minutes and the weight loss during vacuum cooling with the previous optimum parameters was 3.13 %. The total cycle time of ready to eat red coral lettuce was 19 minutes and the weight loss during vacuum cooling with the previous optimum parameters was 2.84 %. Subsequently, ready to eat lettuces from vacuum cooled and non-vacuum cooled were packed in 2 types of packaging: polypropylene bags (PP) and polyethylene bags (PE) in the ratio 1 : 1 : 1, then stored at 4 ± 1 °C. The results illustrated that vacuum cooled ready to eat lettuces had better appearance, lower weight loss, less total aerobic mesophilic bacteria and mold than nonvacuum cooled sample. Vacuum cooled ready to eat lettuces had storage life of 6 days which longer than non-vacuum cooled samples, which had storage life of 4 days. Ready to eat lettuces packed in PP bag had lower weight loss and less number of yeast than samples packed in PE. Ready to eat lettuces packed in PP bag had storage life of 6 days which longer than ready to eat lettuces packed in PE bag, which had storage life of 5 days. However, vacuum cooling and packaging had no effects on color, chlorophylls content, total soluble solids, titratable acidity, anthocyanin content, vitamin C content, antioxidant activity and phenolic compound of lettuces (p>0.05). In addition, the study on the effect of active packaging on quality changes of vacuum cooled ready to eat crisp head, butter head and red coral lettuces were determined. These vegetables were packed in PP and active packaging bags. Active packaging had different oxygen transmission, active bag EMA1 (oxygen transmission rate (OTR) = 10,000-12,000 ml/m2-day), EMA2 (OTR = 12,000-14,000 ml/m2-day) and EMA3 (OTR = 14,000-16,000 ml/m2-day). Subsequently, samples were stored at 4 ± 1 ºC. The results showed that after 7 days of storage, vacuum cooled samples packed in all active packaging bags had higher weight loss. The results showed that after 7 days of storage, vacuum cooled samples packed in all active packaging bags had higher weight loss percentage than samples packed in PP packaging. All EMA packaging contained higher oxygen content but lower carbon dioxide content than PP bag. Vacuum cooled ready to eat lettuces packed in active packaging type EMA2 had the best appearance score and could delay growth of aerobic mesophilic bacteria compared to the other type of packaging. Vegetables packed in EMA2 had the longest storage life of 10 days.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศและบรรจุภัณฑ์แอ็กทีฟต่อคุณภาพ ของผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคen_US
dc.title.alternativeEffects of Vacuum Cooling and Active Packaging on Quality of Ready to Eat Lettuceen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศและ คุณภาพทางกายภาพ เคมี จุลินทรีย์ก่อโรค และอายุการวางจาหน่ายของผักกาดหอมห่อ ผักกาดหอมบัตเตอร์เฮด และผักกาดหอมเรดคอรัล ตัดแต่งพร้อมบริโภค ที่ผ่านกระบวนการลด อุณหภูมิแบบสุญญากาศ และบรรจุภายใต้บรรจุภัณฑ์ที่แตกต่างกัน การหาสภาวะที่เหมาะสมของ กระบวนการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศของผักกาดหอมห่อ ผักกาดหอมบัตเตอร์เฮด และผักกาดหอม เรดคอรัล ตัดแต่งพร้อมบริโภค เพื่อให้ผักมีอุณหภูมิสุดท้ายเท่ากับ 4 ± 1 องศาเซลเซียส ในการทดลอง กาหนดความดันสุดท้ายในห้องลดอุณหภูมิ 3 ระดับ คือ 6.0, 6.5 และ 7.0 มิลลิบาร์ โดยมีระยะเวลาที่ ผลิตผลอยู่ภายใต้ความดันที่กา หนด คือ 5 และ 10 นาที พบว่า ผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคทั้ง 3 ชนิดใช้ความดันสุดท้ายภายในห้องลดอุณหภูมิ 6.5 มิลลิบาร์ ระยะเวลาที่ผลิตผลอยู่ภายใต้ความดัน 5 นาที โดยผักกาดหอมห่อตัดแต่งพร้อมบริโภคใช้เวลาในการลดอุณหภูมิทั้งสิ้น 18 นาที มีการสูญเสีย น้า หนักสด 2.51 เปอร์เซ็นต์ สาหรับผักกาดหอมบัตเตอร์เฮดตัดแต่งพร้อมบริโภคใช้เวลาในการลด อุณหภูมิทั้งสิ้น 19 นาที มีการสูญเสียน้า หนักสด 3.13 เปอร์เซ็นต์ และผักกาดหอมเรดคอรัลตัดแต่ง พร้อมบริโภคใช้เวลาในการลดอุณหภูมิทั้งสิ้น 19 นาที มีการสูญเสียน้า หนักสด 2.84 เปอร์เซ็นต์ นา ผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่ไม่ผ่านและผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศบรรจุใน ถุงพอลิโพรพิลีน (PP) และถุงพอลิเอทิลีน (PE) ในอัตราส่วน 1 : 1 : 1 เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 ± 1 องศา เซลเซียส ผลการทดลอง พบว่า ผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศ มีลักษณะปรากฏดีกว่า มีการสูญเสียน้า หนักสด จา นวน total aerobic mesophilic bacteria และราน้อย กว่าผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่ไม่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศ โดยผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศมีอายุการวางจาหน่าย 6 วัน ซึ่งนานกว่า ผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่ไม่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศมีอายุการวางจา หน่ายเพียง 4 วัน ส่วนผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่บรรจุในถุง PP มีการสูญเสียน้า หนักสดและจา นวนยีสต์ น้อยกว่าผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่บรรจุในถุง PE โดยผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่ บรรจุในถุง PP มีอายุการวางจา หน่าย 6 วัน ซึ่งนานกว่าผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่บรรจุในถุง PE มีอายุการวางจา หน่าย 5 วัน อย่างไรก็ตามการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศและชนิดของบรรจุภัณฑ์ ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าสี ปริมาณคลอโรฟิลล์ ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้า ได้ ปริมาณ กรดที่ไทเทรตได้ ปริมาณแอนโทไซยานิน ปริมาณวิตามินซี กิจกรรมสารต้านอนุมูลอิสระ และ ปริมาณสารประกอบฟีนอลของผัก การศึกษาผลของบรรจุภัณฑ์แอ็กทีฟต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผักกาดหอมห่อ ผักกาดหอมบัตเตอร์เฮด และผักกาดหอมเรดคอรัล ตัดแต่งพร้อมบริโภค ที่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วย ระบบสุญญากาศ แล้วบรรจุผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคทั้ง 3 ชนิดลงในถุง PP และถุงแอ็กทีฟที่มี อัตราการซึมผ่านของก๊าซออกซิเจนแตกต่างกัน คือ EMA1 (oxygen transmission rate (OTR) เท่ากับ 10,000-12,000 มิลลิลิตร/ตารางเมตร-วัน), EMA2 (OTR เท่ากับ 12,000-14,000 มิลลิลิตร/ตารางเมตร- วัน) และ EMA3 (OTR เท่ากับ 14,000-16,000 มิลลิลิตร/ตารางเมตร-วัน) แล้วเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 ± 1 องศาเซลเซียส ผลการทดลอง พบว่า เมื่อเก็บรักษานาน 7 วัน ผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่ ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศที่บรรจุในถุงแอ็กทีฟทั้ง 3 ชนิด มีการสูญเสียน้า หนักมากกว่า ผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศที่บรรจุในถุง PP ส่วนในถุง แอ็กทีฟทุกชนิดมีปริมาณออกซิเจนสูงกว่า แต่มีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ต่า กว่าในถุง PP ที่บรรจุ ผักกาดหอมตัดแต่งพร้อมบริโภคที่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศ โดยผักกาดหอมตัดแต่งพร้อม บริโภคที่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศที่บรรจุในถุงแอ็กทีฟชนิด EMA2 มีลักษณะปรากฏที่ดี ที่สุดและสามารถชะลอการเจริญของ total aerobic mesophilic bacteria ได้ดีกว่าถุงชนิดอื่น และผักมี อายุการวางจา หน่ายนานที่สุดเท่ากับ 10 วันen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590831015 กฤติยาณี วรรณภิระ.pdf8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.