Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสยาม ราชวัตร-
dc.contributor.advisorสมหวัง แก้วสุฟอง-
dc.contributor.authorปฏิภาณ มะวงศ์ไวen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T04:49:14Z-
dc.date.available2020-08-07T04:49:14Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69421-
dc.description.abstractThe aim of the thesis is to study the interpretation of the social dimension in Theravada Buddhism and to find the identity of social dimension in Theravada Buddhism also to apply such identity in solving social problems. It is a documentary research presented in a descriptive way. From the study, it was found that the identity of social dimension Theravada Buddhism is twofold. Firstly, Buddhism is for social reform in the sense that Buddhism encourages people toward self-development and one can reach the ultimate mindfulness and contentment while one is still alive. Secondly, Buddhist teachings pay attention to social dimensions as, for example, found in Sigālovāda-sutta which refers to six quarters as the ethical codes that people should practice in reciprocal way. In the respect of solving social problems, Theravada Buddhism proposes two resolutions. Firstly, to have oneself well-protected can be made by observation of the precepts, for monk or layman, depending on one capacity, also to cultivate mental development by practicing meditation which can cause one to be well-protected. Secondly, to devote oneself to social benefit, one has to realize one’s role in society, such as monk’s or layman, then apply the appropriate role for oneself according to the Buddha’s teaching, practice with perseverance and sincerity.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมิติทางสังคมen_US
dc.subjectพระพุทธศาสนาเถรวาทen_US
dc.titleการตีความมิติทางสังคมในพระพุทธศาสนาเถรวาทen_US
dc.title.alternativeInterpretation of social dimension in theravada buddhismen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc294.391-
thailis.controlvocab.thashพุทธศาสนาเถรวาท-
thailis.controlvocab.thashพุทธศาสนา-
thailis.controlvocab.thashสังคมไทย-
thailis.manuscript.callnumberว 294.391 ป133ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การตีความมิติทางสังคมในพระพุทธศาสนา เถรวาท เพื่อการวิเคราะห์อัตลักษณ์ความเป็นความมิติทางสังคมในพระพุทธศาสนาเถรวาท และ อัตลักษณ์ในการใช้ความเป็นมิติทางสังคมในพระพุทธศาสนาเถรวาทเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม เป็นงานวิจัยเชิงเอกสารและนาเสนอโดยการพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า อัตลักษณ์ความเป็นมิติทางสังคมในพระพุทธศาสนาเถรวาทมีด้วยกัน 2 ประเด็นคือ (1) พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นมาเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม เพราะพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งการพัฒนาตนเองและเข้าถึงอุดมคติของพระพุทธศาสนาได้ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่โดยการสร้างความตื่นรู้ให้เกิดขึ้นแก่บุคคล (2) หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาให้ความสาคัญกับสังคมเช่นกัน ดังเห็นอย่างชัดเจนจาก สิงคโลวาทสูตร ซึ่งกล่าวถึงหลักทิศ 6 ถือเป็นหลักธรรมที่สร้างคุณธรรมของบุคคลและคุณธรรมต่อบุคคลอื่นให้เกิดขึ้นพร้อมกัน ส่วนอัตลักษณ์ในการใช้ความเป็นมิติทางสังคมในพระพุทธศาสนาเถรวาทเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม มีสองประเด็นคือ (1) สร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง คือ การมีศีลทั้งในระดับของพระภิกษุและคฤหัสถ์ และการปฏิบัติทางจิตวิญญาณ คือการภาวนา ซึ่งจะเกื้อกูลให้บุคคลมีภูมิคุ้มกันตนเองที่ดี (2) การปฏิบัติเพื่อประโยชน์สังคม คือการรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเองในสังคมคือ บทบาทในฐานะของพระภิกษุ และบทบาทในฐานะของคฤหัสถ์ และการน้อมนาหลักธรรมมาปฏิบัติเพื่อสังคม เมื่อบุคคลรู้จักหน้าที่ของตนเองก็จะต้องปฏิบัติหน้าที่นั้นด้วยธรรมen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.