Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69419
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิสาข์ ไชยโย-
dc.contributor.authorสุโรจนา อาษาศึกen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T04:43:55Z-
dc.date.available2020-08-07T04:43:55Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69419-
dc.description.abstractThe purpose of this thesis is to study the development of Human Life from the viewpoint of Sustainable Agriculture Groups in Chiang Mai. The research focuses on I. Human Life, II. Lifestyle and III. The process humans apply to reach the objectives of natural living. The methods of the study are in-depth interviews and observing and participating with five representatives from Sustainable Agriculture Groups in Chiang Mai. The results reveal that in the viewpoint of Sustainable Agriculture Groups, Human Life comprises of body and mind. The combination of body and mind are related and cannot be separated. However, some groups think differently, to them body and mind are separated definitely. Lifestyle relating to nature and a sustainable way of life connect human beings to mental and spiritual freedom ie humans can live as they want. The process of development for Human Life is applied to achieve the life objectives and is comprised of five basic steps : Step 1. Study to understand oneself ; Step 2. Study the surroundings ; Step 3. Act ; Step 4. Evaluate the result and solve the problems step by step ; Step 5. Pass on knowledge. Self development can be divided into three parts : 1) physical development, which begins with understanding oneself and the development of life with basic needs, 2) mental development, that is not hurting oneself and others, and 3) intellectual development, it is to practice, realize and gain the knowledge in real life, which leads to attainment of peace of mind.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการพัฒนาชีวิตen_US
dc.subjectกลุ่มเกษตรกรรมยั่งยืนen_US
dc.subjectทัศนะen_US
dc.titleการพัฒนาชีวิตมนุษย์ในทัศนะของกลุ่มเกษตรกรรมยั่งยืน จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Development of human life from the viewpoint of sustainable agriculture groups in Chiang Maien_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc128-
thailis.controlvocab.thashชีวิต -- ปรัชญา-
thailis.controlvocab.thashชีวิต-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกรรมแบบยั่งยืน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 128 ส487ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาชีวิตมนุษย์ในทัศนะของกลุ่มเกษตรกรรมยั่งยืน จังหวัดเชียงใหม่ มีขอบเขตการศึกษาอยู่ ๓ ประเด็น คือ ๑) ชีวิตมนุษย์ ๒) วิถีการดำเนินชีวิตมนุษย์ และ ๓) กระบวนการนำไปพัฒนาชีวิตสู่เป้าหมายของมนุษย์ วิธีการศึกษาใช้การรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบมีส่วนร่วมจากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรรมยั่งยืน จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน ๕ คน จากการศึกษาพบว่า ในทัศนะของกลุ่มเกษตรกรรมยั่งยืน ชีวิตมนุษย์ประกอบด้วยร่างกายและจิตใจ ที่มีความสัมพันธ์กันและไม่สามารถแยกออกจากกันได้ อย่างไรก็ตาม บางส่วนของกลุ่มเห็นต่างว่า กายกับจิตแยกออกกันโดยเด็ดขาด วิถีการดำเนินชีวิตที่ผูกพันอยู่กับธรรมชาติและการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง นำมาซึ่งอิสรภาพทางความคิดและจิตวิญญาณ ทำให้มนุษย์สามารถเลือกใช้ชีวิตตามที่ตนต้องการได้ กระบวนการพัฒนาชีวิตสู่เป้าหมายของมนุษย์ มี ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ ๑ ศึกษาตนเองให้เข้าใจก่อน ขั้นที่ ๒ ศึกษาสภาพแวดล้อม ขั้นที่ ๓ ลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ ๔ ประเมินผลการปฏิบัติ และแก้ไขทีละขั้น และขั้นที่ ๕ ถ่ายทอดองค์ความรู้ การพัฒนาตนเองสามารถแบ่งได้เป็น ๓ ด้าน ได้แก่ ๑) การพัฒนาทางกาย คือ เริ่มจากทำความเข้าใจตัวเองสู่การพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่อย่างมีปัจจัย ๔ ๒) การพัฒนาทางใจ คือ ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น และ๓) การพัฒนาทางปัญญา คือ ลงมือปฏิบัติและรู้แจ้งเห็นจริงได้ในชีวิตจนทำให้เกิดปัญญา ซึ่งนำไปสู่ความสงบภายในใจen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.83 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.