Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProf. Dr.Wipada Kunaviktikul-
dc.contributor.advisorAssoc.Prof. Dr.Raymoul Nantsupawat-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr.Thitinut Akkadechanunt-
dc.contributor.authorKanjananat Tongmuangtunyatepen_US
dc.date.accessioned2020-08-04T00:39:45Z-
dc.date.available2020-08-04T00:39:45Z-
dc.date.issued2014-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69309-
dc.description.abstractCompetent head nurses in community hospitals are essential for achieving healthcare quality improvement. This study aimed to develop and to examine the psychometric properties of a Competency Assessment Scale for Head Nurses in Community Hospitals (CASHNCH). The conceptual framework of the scale development is based on the head nurses’ competencies of Thailand Nursing Council and Midwifery (2013), which includes five domains. The 125 items of competencies were generated and verified by six experts with the scale content validity of .94 with 55-item remained. The scale was tested for the reliability with 30 head nurses in community hospitals using multistage sampling method, the Cronbach’s alpha coefficient of this scale was .99. Six hundred and fourteen head nurses in community hospitals were randomly selected for the field-testing to verify construct validity. The item-total correlation ranged from .43 to .82, and the items were of a good discrimination power. The principle component and oblique rotation with oblimin was used for exploratory factor analysis. The final scale is composed of 52 items with five domains 1) leadership 2) healthcare environment management 3) policy implementation and communication 4) management and 5) professional ethics. The scale was tested with the contrasted group, between 64 head nurses and 68 new nurse graduates, and the significant difference was found (p < .001). The CASHNCH demonstrated the acceptable level of reliability, content validity, and construct validity. Therefore it can be used as a competency assessment scale for head nurses in community hospitals in Thailand.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleDevelopment of a Competency Assessment Scale for Head Nurses in Community Hospitalsen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะสำหรับหัวหน้าหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลชุมชนen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชนที่มีสมรรถนะมีความสำคัญต่อความสำเร็จต่อการพัฒนาคุณภาพการบริการสุขภาพ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินคุณภาพแบบประเมินสมรรถนะสำหรับหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน กรอบแนวคิดที่ใช้ในการพัฒนาเครื่องมือประเมินสมรรถนะนี้คือ กรอบสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยของสภาการพยาบาล (2556) ที่ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ และนำมาพัฒนาข้อถามสมรรถนะจำนวน 125 ข้อ ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 6 ท่าน ได้ค่าดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาทั้งฉบับเท่ากับ .94 และได้แบบประเมินสมรรถนะที่ประกอบด้วยสมรรถนะ 55 ข้อ ภายหลังจากนำไปให้หัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชนที่ได้จากการสุ่มหลายขั้นตอนจำนวน 30 คนเพื่อหาค่าความเชื่อมั่น ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคเท่ากับ .99 การทดสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแบบประเมินสมรรถนะสำหรับหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชนกับหัวหน้าหอผู้ป่วยจำนวน 614 รายที่ได้มาโดยใช้การสุ่มอย่างง่าย พบว่า ความสัมพันธ์ของข้อคำถามกับคะแนนรวมของข้อคำถามที่เหลือของแบบประเมินทั้งฉบับมีค่าระหว่าง .43 ถึง .82 และมีอำนาจจำแนกดีจากการทดสอบสถิติ t-test การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจที่สกัดองค์ประกอบโดยพิจารณาองค์ประกอบจากกลุ่มของตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กัน และหมุนแกนในลักษณะที่องค์ประกอบไม่เป็นอิสระกัน พบว่า แบบประเมินฉบับสุดท้ายมีจำนวน 52 ข้อคำถามประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านภาวะผู้นำ 2) ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของการบริการสุขภาพ 3) ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติและการสื่อสารนโยบาย 4) ด้านการจัดการ 5) ด้านจริยธรรมของวิชาชีพ ผลการทดสอบเครื่องมือโดยวิธีการใช้กลุ่มแตกต่าง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างหัวหน้าหอผู้ป่วยจำนวน 64 รายกับกลุ่มที่มีความแตกต่างเป็นพยาบาลที่สำเร็จการศึกษาใหม่จำนวน 68 รายพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) แบบประเมินสมรรถนะสำหรับหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชนนี้มีความเชื่อมั่น ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างในระดับที่ยอมรับได้ ดังนั้นจึงสามารถนำไปใช้เป็นแบบประเมินสมรรถนะสำหรับหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทยen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.