Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร. ประเสริฐ ไชยทิพย์-
dc.contributor.advisorผศ.ดร. ชูเกียรติ ชัยบุญศรี-
dc.contributor.authorกำไลทิพย์ กาศสกุลen_US
dc.date.accessioned2020-08-04T00:37:42Z-
dc.date.available2020-08-04T00:37:42Z-
dc.date.issued2016-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69285-
dc.description.abstractThis research aims to investigate the relationship between Thai cassava export and macroeconomic determinants, by using the ARDL approach to cointegration method. Drawing on monthly data for the past 10 years, starting from 1st January 2005 to 31st December 2015, this study examines the data of cassava exports from Thailand to major economies such as China , Japan and Indonesia. In this study, the data analysis involves a correlational examination through an estimation of the ARDL approach to cointegration, which can be classified into three main categories. The first category involves an analysis of the foreign currency exchange and the volume of cassava exports from Thailand to major importing countries which have great influence on the long-run equilibrium relationship with the prices of cassava exports from Thailand to the aforementioned countries including the export of cassava sago from Thailand to major importing three main countries, the export of cassava chip from Thailand to China and the export of cassava flour from Thailand to China and Indonesia. The Second category includes only the volume of cassava exports from Thailand to major importing countries which have great influence on the long-run equilibrium relationship with the prices of cassava exports from Thailand to the importing countries including the export of cassava chip from Thailand to Japan and the export of cassava flour from Thailand to Japan. The Third category includes only foreign currency exchange rates that are influential to the long-run equilibrium relationship with the prices of cassava exports from Thailand to major importing countries such as the export of cassava chip from Thailand to Indonesia. In the short-run equilibrium relationship can be classified into two categories. The first category only the volume of cassava exports from Thailand to major importing countries which have great influence on the short-run equilibrium relationship with the prices of cassava exports from Thailand to the importing countries such as the export of cassava sago from Thailand to major importing three main countries, the export of cassava chip from Thailand to China and Japan and the export of cassava flour from Thailand to China and Japan. The Second category only foreign currency exchange rates that are influential to the short-run equilibrium relationship with the prices of cassava exports from Thailand to major importing countries including the export of cassava chip from Thailand to Indonesia and the export of cassava flour from Thailand to Indonesia. All variable have been adapted from the short-run to the long-run equilibrium relation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการส่งออกมันสำปะหลังของ ประเทศไทยกับปัจจัยทางด้านเศรษฐศาสตร์มหภาคโดยวิธีเออาร์ดี แอล(ARDL Approach to Cointegration)en_US
dc.title.alternativeA Test of Relationship Between Export Cassava of Thailand and Macroeconomics Determinant Using ARDL Approach to Cointegration Methoden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยกับปัจจัยทางด้านเศรษฐศาสตร์มหภาคโดยวิธีเออาร์ดีแอล โดยการศึกษาในครั้งนี้เป็นการใช้ข้อมูลรายเดือนช่วงระยะเวลา 10 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2548 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เป็นการศึกษาข้อมูลการส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยไปยังประเทศที่สำคัญ ได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศญี่ปุ่น ประเทศอินโดนีเซีย การวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ได้ทำการทดสอบความสัมพันธ์โดยการประมาณค่า ARDL Approach to Cointegration ผลการศึกษาสามารถแบ่งเป็น 3 กรณี คือ กรณีแรก อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศและปริมาณการส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยไปยังประเทศสำคัญมีความสัมพันธ์ระยะยาวกับราคาส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยไปยังประเทศที่สำคัญ ได้แก่ การส่งออกมันสำปะหลังชนิดสาคูไปยังประเทศที่สำคัญทั้งสามประเทศ การส่งออกมันสำปะหลังชนิดมันเส้นไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน การส่งออกมันสำปะหลังชนิดแป้งมันไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนและประเทศอินโดนีเซีย กรณีที่สอง ปริมาณการส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยไปยังประเทศสำคัญมีความสัมพันธ์ระยะยาวกับราคาส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยไปยังประเทศที่สำคัญ ได้แก่ การส่งออกมันสำปะหลัง ชนิดมันเส้นไปยังประเทศญี่ปุ่น และการส่งออกมันสำปะหลังชนิดแป้งมันไปยังประเทศญี่ปุ่น กรณีที่สาม อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ มีความสัมพันธ์ระยะยาวกับราคาส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยไปยังประเทศที่สำคัญ ได้แก่ การส่งออกมันสำปะหลังชนิดมันเส้นไปยังประเทศอินโดนีเซีย ในส่วนของความสัมพันธ์ในระยะสั้น ผลการศึกษาสามารถแบ่งได้ 2 กรณี คือ กรณีแรก ปริมาณการส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยไปยังประเทศที่สำคัญมีความสัมพันธ์ในระยะสั้นกับราคาส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยไปยังประเทศที่สำคัญ ได้แก่ การส่งออกมันสำปะหลังชนิดสาคูของประเทศไทยไปยังประเทศที่สำคัญทั้งสามประเทศ การส่งออกมันสำปะหลังชนิดมันเส้นของประเทศไทยไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนและประเทศญี่ปุ่น การส่งออกมันสำปะหลังชนิดแป้งมันของประเทศไทยไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนและประเทศญี่ปุ่น กรณีที่สอง อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศและปริมาณการส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยไปยังประเทศที่สำคัญมีความสัมพันธ์ในระยะสั้นกับราคาส่งออกมันสำปะหลังของประเทศไทยไปยังประเทศที่สำคัญ ได้แก่ การส่งออกมันสำปะหลังชนิดมันเส้นของประเทศไทยไปยังประเทศอินโดนีเซีย และการส่งออกมันสำปะหลังชนิดแป้งมันของประเทศไทยไปยังประเทศอินโดนีเซีย และตัวแปรทั้งหมดมีการปรับตัวจากระยะสั้นไปสู่ความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.