Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69249
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ภาสกร แช่มประเสริฐ-
dc.contributor.authorบุญนาท สุวรรณศรีen_US
dc.date.accessioned2020-08-01T07:29:40Z-
dc.date.available2020-08-01T07:29:40Z-
dc.date.issued2016-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69249-
dc.description.abstractThis independent study is to study and apply the artificial neural network model to predict the water level in the river for flash flood preparedness. The experimenting with the water level in the past with different periods (i.e., 10 minutes, in average of one hour, and at one hour) is applied to predict water level in the future. Moreover, the water level data from two monitoring stations is applied to evaluate the predicted water level and compared with the data from only one station. The simulation results show that the predicted water level at 10 minutes is accurate as the average error is lower than the set criteria of 0.05. It is also found that the 3 major factors affecting the water level prediction using the artificial neural network, which are the numbers of data, the numbers of hiding levels and the time of prediction. It also reveals that the higher the number of data, the more accurate or precise it could be; however, it takes a long time. The more numbers of hiding levels, the more time it took the artificial neural network for the measurement. The lesser the prediction time, the more precision the prediction is. However, the factors of the artificial neural network (e.g., the number of nodes, hiding levels, the number of input data) is also required to be carefully designed.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพยากรณ์ระดับน้ำในสถานีวัดน้ำโดยใช้เทคนิคโครงข่าย ประสาทเทียมen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Water Level Prediction System in Water Level Measurement Stations Using Neural Networken_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ได้ศึกษาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียม ในการพยากรณ์ระดับน้ำในสถานีตรวจวัดน้ำ โดยทำการทดลองกับระดับน้ำที่เวลาสิบนาที หนึ่งชั่วโมงแบบเฉลี่ย และหนึ่งชั่วโมงแบบเฉพาะ การพยากรณ์ระดับน้ำที่ผลของการการพยากรณ์ที่เวลา 30, 50, 70 นาที การพยากรณ์ที่มีอินพุตที่เวลา 10 นาทีก่อนหน้า, การพยากรณ์ที่มีอินพุตที่เวลา ณ ปัจจุบัน และการพยากรณ์ของระดับน้ำของสองสถานีวัดน้ำที่เวลาหนึ่งชั่วโมง ผลการค้นคว้าพบว่า การพยากรณ์ระดับน้ำที่เวลาสิบนาทีสามารถพยากรณ์ระดับน้ำได้แม่นยำโดยดูได้จากค่าความผิดพลาดกลุ่มและค่าความผิดพลาดเฉลี่ย ที่น้อยกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้คือ 0.5 และ 0.05 โดยการค้นคว้ายังพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการพยากรณ์ระดับน้ำของโครงข่ายประสาทเทียมมี หลักๆ อยู่ 3 ปัจจัยคือ จำนวนชุดข้อมูล จำนวนชั้นซ่อน เวลาที่ให้ผลของการพยากรณ์ โดยที่พบว่า ในการประมวลผลจำนวนชุดยิ่งมากจะทำให้ผลของการพยากรณ์ยิ่งมีความแม่นยำแต่ใช้เวลานาน จำนวนชั้นซ่อนยิ่งมากก็มีผลทำให้โครงข่ายประสาทเทียมใช้เวลามากด้วยเช่นกัน ส่วนเวลาที่ให้ผลของการพยากรณ์นั้นจะแปรผกผันกับความแม่นยำ ยิ่งค่าของเวลาที่ให้ผลของการพยากรณ์มีค่าน้อยความแม่นยำของการพยากรณ์ยิ่งมีค่ามากตามไปด้วย แต่จะต้องดูส่วนประกอบอื่นๆ ด้วย ทั้งการออกแบบโครงข่ายประสาทเทียม จำนวนชั้นซ่อน จำนวนชุดข้อมูลที่จะเข้าโครงข่ายและเวลาที่ต้องการให้ผลการพยากรณ์en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.