Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69211
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ชูโชค อายุพงศ์-
dc.contributor.authorวุฒิกร งามประภาสมen_US
dc.date.accessioned2020-07-31T00:50:00Z-
dc.date.available2020-07-31T00:50:00Z-
dc.date.issued2015-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69211-
dc.description.abstractThis independent study aims to flood management in Napoon Subdistrict, Wangchin District, Phrae Province. by study gathered data caused flooding in Moo 2 Ban Napoon and Moo 10 Ban Napoonphattana from the field survey and Seminars to find out the factors that caused the flood affected areas in Napoon Subdistrict. Then, the information to analyze the cause of the flooding. The identification of factors that influence the occurrence of flooding, according to the decision making branches. Seminars for ways to manage flooding. The officials from government agencies and officials of the Ministry of Napoon jointly solve the problems of flooding , including four projects (1) the construction of the check dam area number 3. (2) The project to dredge pond area number 150. (3) project to dredge the creek, piled distance of 2,000 meters. (4) Construction of earth dam area number 3. And has prepared a list of Bill of Quantities (BOQ) engages in each project. The guidelines define the primary and secondary criteria used to determine the following (1) Criteria for the construction: secondary criterion is the difficulty in design and ease of construction. (2) Criteria for construction costs. (3) Criteria for social rules : secondary criteria is affecting people and environment. (4) Criteria for construction rules: secondary criteria is direct impact on construction And indirect effects of the construction and (5) Criteria for receive benefits : secondary criteria is direct benefits and indirect benefits. Interviews with experts from the relevant authorities to issue a flood of 10 people conducted by the study include the second set. Including the first inquiry to be set up in weight by Analysis Hierarchy Process and The second set of Inquiry to know the level of satisfaction of each criterion for each project using the average. Then the values returned by the query came together to prioritize the implementation of flood protection projects . The priorities in the implementation of the points mentioned below. The project has the highest priority is The fourth project is the construction of the embankment soil is equal to 3.564, followed by the three projects of dredging the creek Ban Napoon is equal to 3.520, followed by the one projects is the construction of check dams Mae Poon creeek is equal to 3.152. The project is the least important is the two projects is the pond dredging project Ban Napoon area is equal to 2.673.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการบริหารจัดการน้ำท่วมพื้นที่ตำบลนาพูน อำเภอวังชิ้นจังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativeFlood Management in Napoon Subdistrict, Wangchin District, Phrae Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหามาตรการบริหารจัดการน้ำท่วมและจัดลำดับความสำคัญของโครงการในพื้นที่ตำบลนาพูน อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ โดยศึกษารวบรวมข้อมูลปัญหาน้ำท่วมที่เกิดในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านนาพูน และหมู่ที่ 10 บ้านนาพูนพัฒนา ตำบลนาพูน จากการลงสำรวจภาคสนามและการประชุมเสวนาเพื่อหาปัจจัยและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ตำบลนาพูน แล้วจึงได้นำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดปัญหาน้ำท่วม พร้อมทั้งจำแนกชนิดของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะน้ำท่วมตามรูปแบบการตัดสินใจแบบกิ่งก้านสาขา จัดประชุมเสวนาเพื่อหาแนวทางการบริหารจัดการปัญหาน้ำท่วม โดยมีเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐและเจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลนาพูน ได้ร่วมกันเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาน้ำท่วม 4 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการก่อสร้างฝายชะลอน้ำ จำนวน 3 แห่ง (2) โครงการขุดลอกสระเก็บน้ำ จำนวน 150 แห่ง (3) โครงการขุดลอกลำห้วยแม่พูน ระยะทาง 2,000 เมตร (4) โครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก จำนวน 3 แห่ง พร้อมทั้งได้จัดทำรายการแสดงปริมาณงานและราคาการก่อสร้าง (BOQ) ประกอบในแต่ละโครงการ เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการหาลำดับความสำคัญของแต่ละโครงการโดยใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analysis Hierarchy Process) โดยได้กำหนดหลักเกณฑ์หลักและหลักเกณฑ์รองที่ใช้ในการพิจารณาโครงการ ดังนี้ (1) หลักเกณฑ์การดำเนินการก่อสร้าง หลักเกณฑ์รอง คือ ความยากง่ายในการออกแบบ และความยากง่ายในการก่อสร้าง (2) หลักเกณฑ์ราคาค่าก่อสร้าง (3) หลักเกณฑ์ผลกระทบด้านสังคม หลักเกณฑ์รอง คือ ผลกระทบต่อมวลชน และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (4) หลักเกณฑ์ผลกระทบด้านก่อสร้าง หลักเกณฑ์รอง คือ ผลกระทบทางตรงด้านก่อสร้าง และผลกระทบทางอ้อมด้านก่อสร้าง และ (5) หลักเกณฑ์ผลประโยชน์ที่ได้รับ หลักเกณฑ์รอง คือ ผลประโยชน์ทางตรง และผลประโยชน์ทางอ้อม สัมภาษณ์กลุ่มผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับปัญหาน้ำท่วม จำนวน 10 คน โดยจัดทำแบบสอบถามข้อมูลจำนวน 2 ชุด ได้แก่ ชุดที่ 1 สอบถามเพื่อทราบค่าน้ำหนักในแต่หลักเกณฑ์ โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์เชิงลำดับ (Analysis Hierarchy Process) และชุดที่ 2 สอบถามเพื่อทราบระดับความพึงพอใจของแต่ละหลักเกณฑ์ในแต่ละโครงการโดยใช้วิธีการหาค่าเฉลี่ย แล้วนำค่าที่ได้จากแบบสอบถามมารวมกันเพื่อจัดลำดับความสำคัญในการดำเนินโครงการป้องกันน้ำท่วม ซึ่งสามารถจัดลำดับความสำคัญในการดำเนินโครงการจากค่าคะแนนดังกล่าวได้ดังนี้ โครงการที่มีค่าระดับความสำคัญสูงที่สุด คือ โครงการที่ 4 โครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก มีค่าเท่ากับ 3.564 รองลงมา คือ โครงการที่ 3 โครงการขุดลอกลำห้วยแม่พูน มีค่าเท่ากับ 3.520 โครงการที่ 1 โครงการก่อสร้างฝายชะลอน้ำ บริเวณลำห้วยแม่พูน มีค่าเท่ากับ 3.152 และโครงการที่มีค่าระดับความสำคัญน้อยที่สุด คือ โครงการที่ 2 โครงการขุดลอกสระเก็บน้ำ บริเวณบ้านนาพูน มีค่าเท่ากับ 2.673    en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf12.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.