Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Linchong Pothiban-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Totsaporn Khampolsiri-
dc.contributor.advisorDr. Songserm Seangthong-
dc.contributor.authorBenyaporn Bannaasanen_US
dc.date.accessioned2020-07-31T00:49:55Z-
dc.date.available2020-07-31T00:49:55Z-
dc.date.issued2014-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69210-
dc.description.abstractFear of cancer recurrence and hopelessness are major psychological problems found after completion of primary treatment among breast cancer survivors and these feelings can affect their quality of life. This randomized control trial aimed to examine the effectiveness of the Buddhist Doctrine Based Practice in reducing fear of cancer recurrence and hopelessness. A sample of 59 breast cancer survivors, who received primary treatment only, who were 1 to 3 years post-diagnosis and cancer-free, and who met the inclusion criteria were recruited. Participants were randomly assigned into the experimental group and the control group; 29 in the experimental group and 30 in the control group. The experimental group received a 9-day intervention consisting of three sessions of group education and 8 days of self-training in critical reflection, while the control group received usual care. Data were collected using the Concerns about Recurrence Scale (CARS) and the Beck Hopelessness Scale (BHS) before the intervention, immediately following the intervention, as well as 2 weeks and 1 month following the intervention. All instruments were tested for validity and reliability which were at an acceptable level. Data were analyzed using descriptive statistics, the Friedman test, and Mann-Whitney U test. Results indicated that breast cancer survivors receiving the Buddhist Doctrine Based Practice had lower fear of cancer recurrence following the intervention than they had before the intervention at all points of measurement (p < .001). There was a significant difference in fear of cancer recurrence between the two groups at 2 weeks and 1 month after finishing the intervention (p < .05). Additionally, the results demonstrated that breast cancer survivors receiving the Buddhist Doctrine Based Practice had lower hopelessness following the intervention than before the intervention at all points of measurement (p < .001). There was a significant difference in hopelessness between the two groups at 1 month after finishing the intervention (p < .05). The findings imply that nurses can use the Buddhist Doctrine Based Practice to reduce fear of cancer recurrence and hopelessness among breast cancer survivors after completion of primary treatment. Further study should be performed with longer duration to assess the long-term impact of the intervention and should explore in a qualitative study among breast cancer survivors whose sufferings were reduced by the program used in this study to reveal the process of cognitive change.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleEffects of Buddhist Doctrine Based Practice on Fear of Cancer Recurrence and Hopelessness Among Breast Cancer Survivorsen_US
dc.title.alternativeผลของการปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนาต่อความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งและความสิ้นหวังในผู้รอดชีวิตจากมะเร็งเต้านมen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งและความสิ้นหวังเป็นปัญหาสุขภาพจิตที่สำคัญภายหลังสิ้นสุดการรักษาหลักในผู้รอดชีวิตจากมะเร็งเต้านมและสามารถส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้รับบริการดังกล่าว การศึกษานี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มเพื่อศึกษาประสิทธิผลของการปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนาเพื่อลดความกลัวของการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งและความสิ้นหวัง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้รอดชีวิตจากมะเร็งเต้านม จำนวน 59 ราย ที่ได้รับการรักษาหลักครบ โดยมีระยะภายหลังการวินิจฉัยโรค 1 ถึง 3 ปี และตรวจพบว่าไม่มีมะเร็งในร่างกาย ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด กลุ่มตัวอย่างถูกสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง จำนวน 29 ราย และกลุ่มควบคุม จำนวน 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับกิจกรรมเป็นเวลา 9 วัน ประกอบด้วย การให้ความรู้แบบกลุ่ม จำนวน 3 ครั้ง และการฝึกคิดตามหลักโยนิโสมนสิการแบบอริยสัจด้วยตนเอง เป็นเวลา 8 วัน ในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งและแบบวัดความสิ้นหวัง ก่อนและทันทีที่สิ้นสุดโปรแกรม 2 สัปดาห์ภายหลังได้รับโปรแกรม และ 1 เดือนภายหลังได้รับโปรแกรม เครื่องมือดังกล่าวผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นในระดับที่เชื่อถือได้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติทดสอบฟรีดแมน และสถิติทดสอบแมนวิทนีย์ยู ผลการวิจัยพบว่า ผู้รอดชีวิตจากมะเร็งเต้านมที่ได้รับโปรแกรมการปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนามีความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งต่ำกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมตลอดทุกช่วงของการวัด (p < .001) และพบความแตกต่างของความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็ง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมใน 2 สัปดาห์ภายหลังได้รับโปรแกรม และ 1 เดือนภายหลังได้รับโปรแกรม (p < .05) นอกจากนี้ ผลการศึกษาพบว่า ผู้รอดชีวิตจากมะเร็งเต้านมที่ได้รับโปรแกรมการปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนามีความสิ้นหวังต่ำกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมตลอดทุกช่วงของการวัด (p < .001) และพบความแตกต่างของความสิ้นหวังระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมใน 1 เดือนภายหลังได้รับโปรแกรม (p < .05) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า พยาบาลสามารถใช้โปรแกรมการปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนาเพื่อลดความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งและความสิ้นหวังในผู้รอดชีวิตจากมะเร็งเต้านมภายหลังได้รับการรักษาหลักได้ การวิจัยครั้งต่อไปควรติดตามผลระยะยาวขึ้นเพื่อจะประเมินผลของโปรแกรมในระยะยาว อีกทั้งควรทำการวิจัยเชิงคุณภาพในผู้รอดชีวิตจากมะเร็งเต้านมที่ความทุกข์ลดลงหลังจากได้รับโปรแกรมในการศึกษานี้เพื่อแสดงถึงกระบวนการของการคิดที่เปลี่ยนแปลงen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.