Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69176
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร.นิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.advisorผศ.ดร.ไพรัช กาญจนการุณ-
dc.contributor.authorพิชชาภา สุขเจริญen_US
dc.date.accessioned2020-07-30T06:15:53Z-
dc.date.available2020-07-30T06:15:53Z-
dc.date.issued2014-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69176-
dc.description.abstractThis research explored the cycling behavior of the cycling association of Chiang Mai, and moreover the relationship between the frequency of using cycling with the government supporting and the physical environment. A questionnaire was used as a tool to collect the data from 300 persons who are the Cycling Association of Chiang Mai. We used percentage, average and standard deviation to describe the data while chi-square was used to determine the correlation between behavior of using cycling with the government supporting and the physical environment. The results showed that the most of the response why they using cycling was they would like to go exercising by cycling. We found that the bike riders have ridden their bike over three years. The exercise duration was between four to five days a week and a half hour to one hour per day and they will ride a distance of 10 kilometers to 20 kilometers per day. The result showed that the attitude level for cycling is high and the attitude level for government supporting and physical environment is low. Finally, the attitude level for social environment is neutral. In conclusion, if there were the differences in frequency of using cycling, it would affect to the attitude level of government supporting. For physical environment, we found that quality of street, bicycle parking and traffic light for cycling were significant variables to describe that differences in frequency of using cycling can make different attitude level. For bike lane and public bath, these variables were not significant to explain the frequency of using cyclingen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์พฤติกรรมของการใช้จักรยานของสมาชิกสมาคม นักปั่นจักรยานเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAnalysis of Cycling Behavior of the Cycling Association of Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา พฤติกรรมการใช้จักรยานของสมาคมนักปั่นจักรยาน จังหวัดเชียงใหม่ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้จักรยานกับการสนับสนุนของภาครัฐและสภาพแวดล้อมทางกายภาพสำหรับการใช้จักรยาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาคือ สมาชิกสมาคมนักปั่นจักรยานจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยพฤติกรรมการใช้จักรยานของสมาคมนักปั่นจักรยานจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า เหตุผลของการใช้จักรยาน คือ เพื่อใช้ในการออกกำลังกายมากที่สุด ซึ่งส่วนใหญ่ใช้จักรยานมาแล้วมากกว่า 3 ปี และระยะเวลาที่ใช้จักรยานต่อครั้ง คือ 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ถึง 20 กิโลเมตร และส่วนใหญ่จะใช้จักรยาน 4 ถึง 5 วันต่อสัปดาห์ ด้านทัศนคติต่อการใช้จักรยาน พบว่า ทัศนคติของสมาชิกสมาคมนักปั่นจักรยานจังหวัดเชียงใหม่ อยู่ในระดับมาก ด้านการสนับสนุนของภาครัฐ พบว่า ระดับความคิดเห็นของการได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ อยู่ในระดับน้อย ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ พบว่า ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับ และด้านสภาพแวดล้อมทางสังคมในการใช้ยานพาหนะบนท้องถนน พบว่า มีการให้คะแนนในระดับปานกลาง นอกจากนั้นยังพบว่า ผู้ที่มีความถี่ในการใช้จักรยานที่แตกต่างกัน จะมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการสนับสนุนของภาครัฐที่แตกต่างกัน และยังพบว่า ผู้ที่มีความถี่ในการใช้จักรยานที่แตกต่างกัน จะมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพสำหรับการใช้จักรยานที่แตกต่างกัน ในด้านคุณภาพของถนนที่เอื้อต่อการใช้จักรยาน การมีสัญญาณจราจรและสัญลักษณ์สำหรับการใช้จักรยาน และที่จอดรถสำหรับรถจักรยาน ส่วนด้านการมีทางจักรยานและห้องอาบน้ำสาธารณะ พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับความถี่ที่ใช้จักรยานen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.