Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69153
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์วีณา วโรตมะวิชญ | - |
dc.contributor.author | เขมกร ดวงปูนันท์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-28T02:47:58Z | - |
dc.date.available | 2020-07-28T02:47:58Z | - |
dc.date.issued | 2014-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69153 | - |
dc.description.abstract | This study was to develop the project-based learning plans on the topic of recycle paper artifacts for Prathom Suksa 6 students and to study the result of using the learning plans. The target group used in this study included 31 Prathom Suksa 6 students enrolled in the 1st semester of 2014 academic year, at Chiang Mai Tzu chi School, Fang District, Chiang Mai Province. The instruments used included 1) 6 learning plans on the invention using recycled paper taking 18 hours of teaching time, 2) the test on the student’s knowledge and understanding after studying through the plans, 3) skills evaluation form on performing skills and assignment wooks,4) students opinion questionnaire. The data were analyzed in term of percentage, mean and to compare with 70% set criterion and presented in tables with description. The data from the student’s opinion questionnaire were summarized and descriptively preseutecl. As a result of the study, there were 6 learning plans on the recycle paper artifacts for Prathom Suksa 6 taking 18 at teaching time hours which could develop student’s knowledge and competency, and it was found that that the average percentage of the students’ and understanding, performing skills, and the assignment works at 80.32% which was higher than the set criterion of 70.00%. Moreover, concerning the student’s opinion on the study using the project-based instruction, it was found that the student had knowledge and understanding on recycle paper artifact and the paper usage, the project-based learning, and the project performance, and they need further learning on the contents concerning the new paper, its dying, and paper decoration. The students had participated in the activities, and had the ability to correctly follow the procedural steps of making paper. They liked the project-based learning as they had knowledge and understanding, they had participated in the activities, they could be ask to create variety of artifacts, and could apply for being of their career. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาแผนการเรียนรู้แบบโครงงาน เรื่อง สิ่งประดิษฐ์จากกระดาษรีไซเคิลสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 | en_US |
dc.title.alternative | Development of Project-based Learning Plans on Recycle Paper Artifacts for Prathom Suksa 6 Students | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผนการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่อง สิ่งประดิษฐ์จากกระดาษรีไซเคิล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และเพื่อศึกษา ผลการใช้แผนการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่อง สิ่งประดิษฐ์จากกระดาษรีไซเคิลสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห้องที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แผนการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่อง สิ่งประดิษฐ์จากกระดาษรีไซเคิล จำนวน 6 แผน ใช้เวลาในการสอน 18 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจหลังการเรียน 3) แบบประเมินทักษะการปฏิบัติงานและชิ้นงาน และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ยร้อยละ แล้วนำไปเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70.00 นำเสนอข้อมูลโดยใช้ตารางประกอบคำบรรยาย แบบสอบถาม ความคิดเห็นของนักเรียนนำเสนอข้อมูลโดยการสรุปและบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า แผนการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องสิ่งประดิษฐ์จากกระดาษ รีไซเคิล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 6 แผน เวลารวมทั้งสิ้น 18 ชั่วโมง สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการเรียนของนักเรียนได้ โดยนักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ด้านความรู้ความเข้าใจ ทักษะการปฏิบัติชิ้นงานและชิ้นงาน เท่ากับ 80.32 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 70.00 นอกจากนี้ยังมีความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการเรียน โดยใช้แผนการเรียนรู้แบบโครงงานพบว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการผลิตกระดาษ และการใช้กระดาษ การเรียนแบบโครงงาน การทำโครงงานและต้องการที่จะเรียนเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ กระดาษแผ่นใหม่ การย้อมสีและการตกแต่งกระดาษนักเรียนมีส่วนร่วม ในการปฏิบัติกิจกรรม สามารถปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนการทำกระดาษได้อย่างถูกต้อง นักเรียนชอบการเรียนรู้แบบโครงงานเพราะมีความสนุกสนานเกิดความภาคภูมิใจในงานประดิษฐ์ นำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันครูใช้สื่อที่หลากหลายและเหมาะสมกับเนื้อหากิจกรรมนักเรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อการเรียนการสอนและกิจกรรมสามารถคิดโครงงานสิ่งประดิษฐ์ที่หลากหลายตามความต้องการของตนเองและสมาชิกในกลุ่มสามารถนำวัสดุและเศษวัสดุจากท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.