Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69147
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนีกร ทองสุขดี | - |
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์สร้อยสุดา วิทยากร | - |
dc.contributor.author | เจริญศรี ศรีจันทร์ดร | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-28T02:47:19Z | - |
dc.date.available | 2020-07-28T02:47:19Z | - |
dc.date.issued | 2015-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69147 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were to study the investigate the attitudes of teachers and administrators to children with special needs to participate in the management of private schools in Chiang Mai and the principal barriers to inclusive education in private schools. The population of the school administrators and teachers of the city. In this study used questionnaire for manager and teacher In Chiang Mai Office of Education District and informal interview from 19 managers and 19 teachers The inferences of this independent study were as following: 1. The knowledge affect to attitude in inclusive education found that Teachers and administrators who have an average experience within 5 years were very good to know about the classes. The target about 73.76% agreed with receiving children with special needs to attend school. 2. The cooperation between authorized. The organization and staff would be success in cooperative learning. From the study, the target in 50% regarded that cooperative learning could make the chance of improving learning skill, social, and adaptation with other children. The management of cooperative learning should develop in several ways, have many syllabus and properly. Include giving chance to the normal student and parent to do study plans with the student with the special need. 3. The barrier in cooperative learning in private school. From the survey in target group, there were problems by comparison with working with normal student and the student with the special need. Moreover, lack of a caring teacher and didn’t have a special teacher who graduated in special education. Finally, lack of convenience media for the student with special need in cooperative class room. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ทัศนคติของครูและผู้บริหารโรงเรียนเอกชน ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ต่อการจัดการเรียนร่วม | en_US |
dc.title.alternative | Attitudes of Teachers and Administrators in Mueang, Chiang Mai Private School on Inclusion | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) เพื่อศึกษาทัศนคติของครูและผู้บริหารที่มีต่อเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษและการจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนเอกชนอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และ 2.) เพื่อศึกษาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนเอกชน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถามสำหรับผู้บริหารและครูผู้สอน และบันทึกจากการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหาร 19 คน และครูผู้สอน 19 คน ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1. ด้านความรู้ความเข้าใจมีผลต่อทัศนคติในการจัดการเรียนร่วม พบว่ากลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจในการสอนเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษเรียนร่วมในโรงเรียน ประเมินค่าในระดับความรู้มาก ซึ่งเฉลี่ยมีประสบการณ์ด้านการศึกษาพิเศษในช่วง 5 ปี กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 73.76 เห็นด้วยกับการรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เข้ามาเรียนร่วมในชั้นเรียน โดยผลการศึกษาทัศนคติของกลุ่มเป้าหมายต่อการสอน เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษเรียนร่วมในโรงเรียนอยู่ในระดับทัศนคติดี 2. ด้านความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กรและบุคคลจะทำให้เกิดความสำเร็จ ในการเรียนร่วม จากการศึกษาพบว่า กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 50 มีความเห็นว่าปัจจุบันการจัด การเรียนร่วมเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้พัฒนาการเรียนรู้ สังคม และปรับตัวเข้ากับผู้อื่นใช้ชีวิตรวมกับเด็กอื่นทั่วไป โดยจากการสำรวจข้อคิดเห็นเกี่ยวกับผลการจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนเอกชน เห็นว่าการจัดการเรียนการสอนควรพัฒนาให้มีความหลากหลาย มีรูปแบบหลักสูตรที่สอดคล้องและเหมาะสมด้วยโครงสร้างกระบวนการ รูปแบบ และความร่วมมือ ของหน่วยงานองค์กรต่าง ๆ การได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเปิดโอกาสให้นักเรียนทั่วไป และผู้ปกครองที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนจัดการศึกษาให้กับนักเรียนกลุ่มนี้มากขึ้น 3. อุปสรรคที่พบในการจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนเอกชน จากการสำรวจข้อมูลข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของกลุ่มเป้าหมายพบว่า มีปัญหาด้านปัญหาการเปรียบเทียบ ความแตกต่างในการปฏิบัติของครูผู้สอนและนักเรียนทั่วไป ที่มีเด็กที่มีความต้องการ จำเป็นพิเศษเรียนร่วมในชั้นเรียน ปัญหาการขาดครูผู้รับผิดชอบดูแลเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษและไม่มีครูที่จบด้านการศึกษาพิเศษในโรงเรียน ปัญหาการขาดสื่อสิ่งอำนวย ความสะดวกสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษที่เข้ามาเรียนร่วม | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.91 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.